ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 The 50th International Congress on Science, Technology and Technology – based Innovation (STT50) พร้อมเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์
วันที่เขียน 6/12/2567 16:01:36     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 7:09:20
เปิดอ่าน: 115 ครั้ง

ได้เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 The 50th International Congress on Science, Technology and Technology – based Innovation (STT50) พร้อมเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์ หัวข้อเรื่อง “Simple Oxalate-Selective Naked-Eye and Spectrophotometric Determination based on Aluminium-Indicator Complex” ในระหว่างวันที่ 25 – 27 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ รับฟังการนำเสนองานวิจัยทางด้านเคมี (Chemistry Session) ณ ห้อง CHIANG MAI 3 ECC (Empress Convention Centre) ในหัวข้อต่างๆ

เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 The 50th International Congress on Science, Technology and Technology – based Innovation (STT50) พร้อมเสนอผลงานในรูปแบบโปสเตอร์ หัวข้อเรื่อง “Simple Oxalate-Selective Naked-Eye and Spectrophotometric Determination based on Aluminium-Indicator Complex”

รับฟังการนำเสนองานวิจัยทางด้านเคมี (Chemistry Session) ณ ห้อง CHIANG MAI 3 ECC (Empress Convention Centre) ในหัวข้อต่างๆ อาทิเช่น

- งานวิจัยทางด้านการพัฒนาอุปกรณ์ตรวจวัดสมัยใหม่ที่รวดเร็วเพื่อการตรวจวัดสารชีวโมเลกุลปริมาณน้อย และกลไกที่เกี่ยวกับเอนไซม์ ได้แก่

1.1      Tailored Functional Nanomaterials as Peroxidase Mimics on Microfluidic Paper-based Analytical Devices (mPADs) for Innovative POINT-OF-CARE Applications

1.2     Mechanisms of 2-PAM in Reactivating Human Acetylcholinesterase

1.3      Sample Preparation-free Colorimetric Device for Salivary Ethanol and Tetrahydrocannabinol Detection using a Capillary-Driven Microfluidic Integrated with a Paper-based Device

- งานวิจัยเกี่ยวกับการสังเคราะห์สารกลุ่มโลหะออกไซด์โดยใช้สารสกัดจากพืช การสังเคราะห์คาร์บอนดอท สำหรับตรวจวัดฟอร์มาลิน รวมทั้งประยุกต์ใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาการสลายตัวด้วยแสงเพื่อกำจัดสีย้อมในน้ำเสีย ได้แก่

1.4      Biosynthesis of Metal Oxide Photocatalysts using Plant Extract for Photocatalytic Degradation of Antibiotics and Organic Dyes in Wastewater

1.5      Sustainable Synthesis of Nitrogen-doped Carbon Dots for Formalin Detection and Hydrochar for Dye Removal from CASSAVA Waste

ได้รับความรู้และประสบการณ์จากการรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับงานวิจัยที่น่าสนใจที่มีความหลากหลาย ทางด้านฟิสิกส์และฟิสิกส์ประยุกต์ ด้านชีววิทยา ด้านเคมี ด้านพลังงาน สิ่งแวดล้อม วัสดุศาสตร์และเทคโนโลยี

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1533
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/4/2568 19:34:49   เปิดอ่าน 81  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/4/2568 22:30:12   เปิดอ่าน 119  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย » ขอรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์
ตามที่ข้าพเจ้าได้รับอนุญาตให้เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อ “การใช้ AI ในการพัฒนางานวิจัย” ภายใต้ โครงการการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อขับเคลื่อนงานวิจัยและนวัตกรรมสู่การนำไปใช้ประโยชน์ในวันพุธที่...
AI  งานวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พรพรรณ อุตมัง  วันที่เขียน 21/2/2568 9:49:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 1/4/2568 18:40:57   เปิดอ่าน 224  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง