เอกสารเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการอบรม “การพัฒนาคณาจารย์ให้มีการสอนที่สร้างทักษะ ๔C สอดแทรกในรายวิชา (รุ่นที่ ๑)”
วันที่เขียน 10/2/2565 10:13:56     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 9:23:34
เปิดอ่าน: 1323 ครั้ง

กระบวนการเรียนรู้ Learning Model คิดเป็นสัดส่วนในการเรียนรู้ ดังนี้ ลงมือปฏิบัติ : กระบวนการพี่เลี้ยง/โค้ช : เพิ่มเติมความรู้ในหลักสูตร คิดเป็นสัดส่วน ๗๐ : ๒๐ : ๑๐ และมีการทบทวนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ อันได้แก่ ๔C ประกอบไปด้วย Creativity Critical thinking Communication and Collaboration โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่บนพื้นฐาน Mindset ของ Coach and Facilitator mindset ซึ่งมี Key Elements and Skill ที่ใช้ได้แก่ Deep Listening อันประกอบไปด้วย Be there ดำรงตนเพื่อคนอยู่ข้างหน้า Paraphrase การทวนสิ่งที่ได้ยินไม่เท่ากับเล่าเรื่องซ้ำสอง Empathic listening การสะท้อนความรู้สึก และการฟังแบบผู้อำนวยการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย Verbal (เนื้อหา) ๗% Vocal (น้ำเสียง) ๓๘% และ Visual (ภาษากาย) ๕๕% และการตั้งคำถามโดยโค้ช โดยที่ Mindset for Coaching and Facilitator ประกอบไปด้วย ๑. The map is not the territory. มนุษย์ทุกคนเป็นได้มากกว่าที่เห็น ๒. People is doing the best they can with the resources they have available. ทุกคนทำดีที่สุดแล้วเท่าที่ทรัพยากรที่มี ๓. Be behavioral flexibility. ทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ ๔. There is no failure. It’s only feedback. จะไม่มีความล้มเหลว มีเพียงแต่การเสนอแนะหรือการสะท้อนกลับ อีกทั้งได้เรียนรู้กระบวนการ Coaching and Facilitator ซึ่งกรอบแนวคิดของผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) ประกอบไปด้วย ๖C Model (Connect, Contract, Content, Conversation, Commit and Conclude)

กระบวนการเรียนรู้ Learning Model คิดเป็นสัดส่วนในการเรียนรู้ ดังนี้ ลงมือปฏิบัติ : กระบวนการพี่เลี้ยง/โค้ช : เพิ่มเติมความรู้ในหลักสูตร คิดเป็นสัดส่วน ๗๐ : ๒๐ : ๑๐ และมีการทบทวนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ อันได้แก่ ๔C ประกอบไปด้วย Creativity Critical thinking Communication and Collaboration โดยกระบวนการจัดการเรียนการสอนอยู่บนพื้นฐาน Mindset ของ Coach and Facilitator mindset ซึ่งมี Key Elements and Skill ที่ใช้ได้แก่ Deep Listening อันประกอบไปด้วย Be there ดำรงตนเพื่อคนอยู่ข้างหน้า Paraphrase การทวนสิ่งที่ได้ยินไม่เท่ากับเล่าเรื่องซ้ำสอง Empathic listening การสะท้อนความรู้สึก และการฟังแบบผู้อำนวยการเรียนรู้ ประกอบไปด้วย Verbal (เนื้อหา) ๗% Vocal (น้ำเสียง) ๓๘% และ Visual (ภาษากาย) ๕๕% และการตั้งคำถามโดยโค้ช โดยที่ Mindset for Coaching and Facilitator ประกอบไปด้วย

            ๑. The map is not the territory. มนุษย์ทุกคนเป็นได้มากกว่าที่เห็น

            ๒. People is doing the best they can with the resources they have available. ทุกคนทำดีที่สุดแล้วเท่าที่ทรัพยากรที่มี

            ๓. Be behavioral flexibility. ทุกคนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้

            ๔. There is no failure. It’s only feedback. จะไม่มีความล้มเหลว มีเพียงแต่การเสนอแนะหรือการสะท้อนกลับ

            อีกทั้งได้เรียนรู้กระบวนการ Coaching and Facilitator ซึ่งกรอบแนวคิดของผู้อำนวยการเรียนรู้ (Facilitator) ประกอบไปด้วย ๖C Model (Connect, Contract, Content, Conversation, Commit and Conclude

โดยหลักการของ TABS Model นั้น ผู้อำนวยการเรียนรู้ จำเป็นต้องใช้ทักษะทั้ง ๔ ด้านอย่างผสมผสานในสัดส่วนที่เหมาะสมกับบริบทของชั้นเรียนนั้น ๆ โดยอาจจะต้องมีการ Coaching Counselling Consulting และ Teaching ในสัดส่วนที่เหมาะสม ขึ้นอยู่กับบริบท/สถานการณ์ในชั้นเรียนนั้น ๆ

            สรุปประเด็น Facilitation Framework ๖C ดังนี้

ขั้นที่ ๑ ขั้นนำ (Open) ประกอบไปด้วย

            - Connect ได้แก่ การกล่าวเปิด การสร้างความเชื่อมโยง การแนะนำตัว การละลายพฤติกรรมดำรงตนเพื่อคนตรงหน้า

            - Contract ได้แก่ การบอกขอบเขต วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่จะทำร่วมกัน บอกหลักการสำคัญของการอยู่ร่วมกัน การร่วมกันสร้างข้อตกลงในกลุ่ม (Communication Agreement)

 

ขั้นที่ ๒ ขั้นสอน (Facilitate Learning) ประกอบไปด้วย

            - Content นำเสนอเนื้อหา เสนอข้อคิดเห็น แชร์ประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่ม

            - Conversation ใช้ทักษะการฟัง การถาม เจาะประเด็น การเขียน Flipchart พากลุ่มพูดคุย ทำกิจกรรม โดยมีเป้าหมาย ระบุสาเหตุที่แท้จริง ความต้องการจัดการความขัดแย้ง นำพลังกลุ่มมาใช้ นำพากลุ่มร่วมกันหาทางออก

ขั้นที่ ๓ ขั้นสรุป (Closure) ประกอบไปด้วย

            - Commit ทบทวนใคร่ครวญ แบ่งปันสิ่งที่ได้เรียนรู้ สมาชิกพบทางเลือกใหม่ วางแผนปฏิบัติ ร่วมมือกันสร้างความรับผิดชอบหรือร้องขอเพื่อให้เกิดการลงมือทำ

            - Conclude สรุปสิ่งที่ได้ แบ่งปันสิ่งที่จะนำไปใช้ สร้างแรงบันดาลใจ ชื่นชมตนเอง ชื่นชมการเรียนรู้ ขอบคุณและ Check-out อาจกำหนดเรื่องที่จะคุยในครั้งต่อไป

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1254
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 8:43:18   เปิดอ่าน 10  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 2/4/2568 20:09:37   เปิดอ่าน 84  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 4:35:56   เปิดอ่าน 125  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง