เผยแพร่ความรู้จากการอบรม How to ทิ้งความน่าเบื่อในห้องเรียน เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2564
วันที่เขียน 4/10/2564 17:53:15     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 19/5/2568 9:28:14
เปิดอ่าน: 1341 ครั้ง

ความน่าสนใจในเนื้อหาวิชาการ หากแม้อยู่ในห้องเรียนก็เป็นการยากที่ผู้เรียนจะสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัยการเรียนการสอนออนไลน์เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก ดังนั้นผู้ที่มีหน้าที่ต้องทำให้เนื้อหามีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้นก็คือผู้สอน โดนเริ่มจากอันดับแรกผู้สอนต้องเปิดใจที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลง และทำความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างการสอนในห้องเรียน กับการสอนออนไลน์ และในเมื่อผู้สอนเปิดใจแล้วขั้นตอนต่อมาคือการทำอย่างไรให้การเรีนในรูปแบบออนไลน์มีความน่าเบื่อน้อยลง ซึ่งจะพบว่าในปัจจุบันมีเทคโนโลยีมากมายที่สามารถสนับสนุนส่งเสริมให้การเรียนการสอนออนไลน์มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการศึกษารูปแบบการใช้โปรแกรมต่างๆแม้จะมีความแตกต่างกันออกไป แต่เมื่อใดที่ผู้สอนเปิดใจ ข้อจำกัดหรือ ข้อแม้เหล่านี้ก็จะหายไป ทำให้ผู้สอนสามารถค้นพบแนวทางของตนเองที่ทำให้สามารถทำงานปฎิบิติการสอนได้อย่างน่าสนใจแม้จะเป็นการสอนออนไลน์ก็ตาม

ความน่าสนใจในเนื้อหาวิชาการ หากแม้อยู่ในห้องเรียนก็เป็นการยากที่ผู้เรียนจะสนใจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบัยการเรียนการสอนออนไลน์เข้ามามีบทบาทเป็นอย่างมาก ดังนั้นผู้ที่มีหน้าที่ต้องทำให้เนื้อหามีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้นก็คือผู้สอน โดนเริ่มจากอันดับแรกผู้สอนต้องเปิดใจที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลง และทำความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างการสอนในห้องเรียน กับการสอนออนไลน์ และในเมื่อผู้สอนเปิดใจแล้วขั้นตอนต่อมาคือการทำอย่างไรให้การเรีนในรูปแบบออนไลน์มีความน่าเบื่อน้อยลง ซึ่งจะพบว่าในปัจจุบันมีเทคโนโลยีมากมายที่สามารถสนับสนุนส่งเสริมให้การเรียนการสอนออนไลน์มีความน่าสนใจมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามการศึกษารูปแบบการใช้โปรแกรมต่างๆแม้จะมีความแตกต่างกันออกไป แต่เมื่อใดที่ผู้สอนเปิดใจ ข้อจำกัดหรือ ข้อแม้เหล่านี้ก็จะหายไป ทำให้ผู้สอนสามารถค้นพบแนวทางของตนเองที่ทำให้สามารถทำงานปฎิบิติการสอนได้อย่างน่าสนใจแม้จะเป็นการสอนออนไลน์ก็ตาม

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1235
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
งานวิจัย » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมครั้งที่ 6 ประจำปี 2568ครั้งนี้ เปิดมุมมองใหม่ด้านอาชีพ เทคโนโลยีเกษตร เกมที่ช่วยในการการเรียนรู้ และนาโนเซ็นเซอร์ เสริมทักษะนักศึกษาและอา...
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 13/5/2568 20:04:00  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 17/5/2568 22:13:30   เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
งานวิจัย » การวิเคราะห์สารสกัดจากธรรมชาติ
จากการเข้าร่วมการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้: การใช้ประโยชน์จากสมุนไพรและเห็ดในประเทศไทยเชิงสุขภาพเพื่อพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ โดยการประชุมเชิงปฏิบัติการแลกเปลี่...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน นลิน วงศ์ขัตติยะ  วันที่เขียน 7/5/2568 12:07:25  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 18/5/2568 22:38:31   เปิดอ่าน 39  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง