รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : ISI
การอบรม สัมนา » การเตรียมบทความทางด้านเศรษฐศาสตร์ เพื่อตีพิมพ์ในฐาน SCOPUS/ISI
ถ่ายทอดองค์ความรู้จากโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “Preparing Economics Articles for SCOPUS/ISI Publications” คณะเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วันพุธ 7 เมษายน 2564 เวลา 10.00 – 12.00 น.
คำสำคัญ : ISI  Publish  SCOPUS  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1198  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 12/9/2564 10:25:35  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 16:35:15
แชร์ประสบการณ์ต่างประเทศ » ประสบการณ์การรับเชิญเป็น Visiting Professor
ณ ภาควิชา Agro-industrial Technology คณะ Agricultural Technology มหาวิทยาลัย Universitas Gadjah Mada (UGM) ประเทศอินโดนีเซีย ระหว่างวันที่ 26-30 พฤศจิกายน 2559
คำสำคัญ : AUN-QA  Visiting professor  ศาสตราจารย์รับเชิญ  ศาสตราจารย์อาคันตุกะ  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : เรื่องทั่วไป
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 8250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุเนตร สืบค้า  วันที่เขียน 3/12/2559 17:01:49  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 22:57:27
สรุปประชุมวิชาการจีโนมิกส์และพันธุศาสตร์ » จีโนมิกส์และพันธุศาสตร์
เทคโนโลยีทางด้านจีโนมิกส์และพันธุศาสตร์ มีความก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว สามารถจะนำมาใช้ศึกษาวิจัยและประยุกต์ทางการแพทย์ คือ การศึกษาสาเหตุและกลไกของโรคพันธุกรรมและโรคที่มีปัจจัยทางพันธุกรรม การวินิจฉัยและทำนายโรค การพัฒนายาและวิธีรักษาแบบใหม่ โดยต้องมีการนำข้อมูลทางพันธุกรรมและจีโนมมาประกอบในการดูแลและรักษาผู้ป่วย ฯลฯ ซึ่งในอนาคตวิธีการรักษาโรคจะจำเพาะต่อตัวบุคคล และมีความถูกต้องแม่นยำมากขึ้น ตัวอย่างที่สำคัญ 2 ชนิด คือการปรับแต่งจีโนม (GENOME EDITING) เป็นเทคโนโลยีการปรับแต่งจีโนมโดยเปลี่ยนรหัสพันธุกรรมที่ตำแหน่งจำเพาะของสิ่งมีชีวิตให้คงอยู่อย่างถาวร โดยเทคโนโลยีการปรับแต่งจีโนมที่ได้รับการพัฒนาในปัจจุบันส่วนใหญ่ใช้เอนไซม์ที่เรียกว่า programmable nuclease ซึ่งมีหลายชนิด เช่น meganuclease และ CRISPR เป็นต้น ปัจจุบันนักวิทยาศาสตร์สามารถนำไปใช้รักษาโรคที่เกิดจากไวรัสได้ด้วย เช่น HIV, human papilloma virus (HPV), ไวรัสตับอักเสบชนิดบี (hepatitis B virus) เป็นต้น ทำให้เกิดแนวทางการศึกษากลไกการทำงานของยีนกับการเกิดโรคเพื่อนำไปสู่แนวทางในการรักษาคือ การเปลี่ยนลำดับเบสหรือการปรับแต่งจีโนมในเซลล์หรือเนื้อเยื่อที่เกิดโรค โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากยีนเดียว (monogenic disease) เช่น โรคฮีโมฟีเลีย (hemophilia) เป็นต้นส่วน การแพทย์แม่นยำ (Precision Medicine) คือ การที่แพทย์ต้องมีความเชี่ยวชาญ และสามารถใช้ข้อมูลจากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างจากหลากหลายวิธีจากหลายแหล่ง ดังนั้นกล่าวโดยสรุปสองหลักการนี้นำมาใช้ในการวิจัยต่าง ๆเป็นอย่างมากอันจะก่อให้เกิดประโยชน์มากมายทางด้านการแพทย์ในปัจจุบันเป็นอย่างมากก่อให้เกิดวิทยาการใหม่ๆมากมายแก่วงการแพทย์เป็นอย่างมากที่สามารถช่วยเหลือคนไข้ให้หายจากโรคและสามารถใช้เป็นแนวทางในการป้องกันการเกิดโรคไดในอนาคต
คำสำคัญ : GENOME EDITING  Precision medicine  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 13492  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ทุเรียน ทาเจริญ  วันที่เขียน 22/8/2559 16:07:38  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 12:53:01