สถิติสำหรับงานวิเคราะห์ทดสอบ
วันที่เขียน 9/5/2566 10:46:14     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:48:30
เปิดอ่าน: 2524 ครั้ง

สถิติเป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ทดสอบข้อมูล และเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะในห้องปฏิบัติการทดลองทางวิทยาศาสตร์ โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์จำเป็นต้องมีความถูกต้อง และเหมาะสมกับข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล

สถิติที่ใช้ในงานวิเคราะห์ทดสอบและวิจัย ประกอบไปด้วยหัวข้อต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

1. ค่าสถิติและการหาค่าสถิติ ระดับความเชื่อมั่น (Confidence Level) การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม และการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ 

    เป็นการหาค่าสถิติ และระดับความเชื่อมั่นในการทดสอบ ประมาณค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ที่เราสนใจ รวมทั้งการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่ม เพื่อที่เราจะได้เลือกใช้สถิติ

ให้มีความถูกต้อง และเหมาะสมกับข้อมูล หรือการแจกแจงของข้อมูล เพื่อให้ผลการทดสอบมีความถูกต้อง และมีความน่าเชื่อถือ

 

2. การทดสอบ outlier การทดสอบแบบที (t - test) และการทดสอบแบบเอฟ (F-test)

    เป็นการทดสอบค่านอกเกณฑ์ (outlier) เพื่อทดสอบดูค่าที่ไม่ได้อยู่ในเกณฑ์ รวมทั้งการทดสอบแบบที และแบบเอฟ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะของการทดสอบ

ให้สอดคล้องกับพารามิเตอร์ที่เราทำการทดสอบ 

 

3. การวิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงเส้น (Regression correlation) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA)

    เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบเชิงเส้น และการวิเคราะห์ความแปรปรวน เพื่อทำการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับค่าเฉลี่ยของประชากรที่มากกว่า 2 กลุ่มขึ้นไป พร้อม ๆ กัน

 

4. การฝึกปฏิบัติโดยการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ และทดสอบข้อมูล

    เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป MS-Excel เพื่อทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติที่ได้กล่าวมาแล้ว มาทำการวิเคราะห์

 

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง