คู่มือการผลิตต้นกล้าสับปะรดเชิงอุตสาหกรรมด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
วันที่เขียน 19/9/2562 14:17:32     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 2:52:08
เปิดอ่าน: 2934 ครั้ง

การผลิตต้นกล้าสับปะรดเชิงอุตสาหกรรมด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ทำได้โดยนำส่วนขยายพันธุ์ของต้นสับปะรด เช่น หน่อข้าง ตะเกียง จุก มาฟอกฆ่าเชื้อแล้วเพาะเลี้ยงด้วยธาตุอาหารสูตร MS (1962) ที่มี BA 1 mg/l ร่วมกับ NAA 0.2 mg/l นาน 1.5-2 เดือน จากนั้นทำการเพิ่มปริมาณต่อจนต้นมีปริมาณมากพอ แล้วตัดข้อเดี่ยวๆ เพาะเลี้ยงด้วยอาหารสูตรเดิมที่มี TDZ 0.1 mg/l ร่วมกับ NAA 0.2 mg/l นาน 1.5 เดือน จึงย้ายลงอาหารสูตรเดิมที่ไม่เติมสารควบคุมการเจริญเติบโต ต้นจะแตกกอมียอดเกิดขึ้นจำนวนมาก จึงตัดแบ่งชิ้นส่วนให้มีขนาดเล็กลงก่อนทำการย้ายลงอาหารสูตรเดิมซ้ำอีกครั้ง ต้นจะยืดยาวขึ้น ใช้เวลาประมาณ 1 เดือนจึงชักนำการออกรากด้วยระบบอาหารแข็งหรือระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวแบบขวดแฝด ที่ในอาหารไม่มีสารควบคุมการเจริญเติบโต หรือมี NAA 0.2 mg/l โดยระบบอาหารแข็งใช้เวลา 2-3 เดือน และระบบไบโอรีแอคเตอร์จมชั่วคราวแบบขวดแฝดใช้เวลา 1 เดือน จึงย้ายต้นออกปลูกในโรงเรือน

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
รุ่งทิพย์ กาวารี » #SFC เทคนิคการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เทคนิคโครมาโตกราฟีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ใช้คอลัมน์แบบเปิดในการแยกสาร ซึ่งใช้เวลานานมาก มีความละเอียดต่ำ มีอัตราการไหลต่ำ (ขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วง) การทำ Gradient ไม่สามารถทำได้ และจำเป็นต้องมี...
Flash  HPLC  Prep HPLC  SFC  Supercritical Fluid Chromatography     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 17/11/2567 16:18:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:54:07   เปิดอ่าน 140  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:35:33   เปิดอ่าน 278  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 22:03:29   เปิดอ่าน 362  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:12:40   เปิดอ่าน 181  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง