รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : จุดตรึง
สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาการนำไปใช้ประโยชน์จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ"การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 7"
การประชุมวิชาการระดับชาติพิบูลสงคราม ครั้งที่ 7 เป็นการประชุมวิชาการที่เปิดโอกาสให้อาจารย์ นักวิจัย และนักศึกษา ที่สนใจด้านการวิจัยได้แลกเปลี่ยนความรู้ด้านงานวิจัย ซึ่งแยกงานวิจัยที่มีการนำเสนอเป็น 2 กลุ่ม ประกอบด้วย วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จำนวน 65 ผลงาน และ วิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 17 ผลงาน โดยจัดขึ้นวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2565 ในรูปแบบออนไลน์
คำสำคัญ : จุดตรึง  ประชุมวิชาการพิบูลย์สงครามวิจัย  ปริภูมิเมตริกบี  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 647  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 25/9/2565 10:55:47  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/5/2567 21:25:49
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย
กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย และเทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา ณ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
คำสำคัญ : การวิจัยทางด้านพีชคณิต  การวิจัยทางทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory)  เทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3005  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:39:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/5/2567 7:00:11
สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ วิทยาศาสตร์วิจัยครั้งที่10
การวิจัยทฤษฎีบทจุดตรึงในปริภูมิเมตริก bv(s) ได้ทฤษฎีบทใหม่ที่ครอบคลุมทฤษฎีบทในปริภูมิเมตริกที่เป็นที่รู้จักกันดี
คำสำคัญ : ทฤษฎีบทจุดตรึง ปริภูมิเมตริก  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2503  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เยาวลักษณ์ คงธรรม  วันที่เขียน 4/9/2561 11:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/5/2567 7:17:17
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการในการประชุมวิชาการ The 10th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization 16-18 July 2018 Chiangmai, Thailand ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.0523.4.5 / 178 ลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2561 » รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการในการประชุมวิชาการ The 10th Asian Conference on Fixed Point Theory and Optimization 16-18 July 2018 Chiangmai, Thailand ตามหนังสือขออนุญาตเดินทางไปราชการ เลขที่ ศธ.0523.4.5 / 178 ลงวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2561
ทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory) เป็นแขนงที่สำคัญแขนงหนึ่งในสาขาของการวิเคราะห์เชิงฟังก์ชัน (Functional Analysis ) ที่สามารถประยุกต์ได้อย่างกว้างขวางโดยเฉพาะอย่างยิ่งการศึกษาเกี่ยวกับ การมีคำตอบ (existence of solution) การมีเพียงคำตอบเดียว (uniqueness of solution) ของสมการต่าง ๆ ตลอดจนการคิดค้นระเบียบวิธีการทำซ้ำของจุดตรึง (Fixed-point Iterations) เพื่อใช้ในการหาคำตอบของสมการตัวดำเนินการไม่เชิงเส้น (nonlinear operator equations) ปัญหาอสมการคลาดเคลื่อน (variational inequality problem) ปัญหาดุลภาพ (Equilibrium Problems) ปัญหาที่ดีที่สุด (Optimizations problems) ปัญหาน้อยที่สุด (Minimizations Problems) ทั้งในปริภูมิฮิลเบิร์ตและปริภูมิบานาค ซึ่งปัญหาดังกล่าวเป็นปัญหาที่สำคัญที่มีประโยชน์มากมายในสาขาวิชาต่าง ๆ เช่น สาขาวิชาฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรม และเศรษฐศาสตร์
คำสำคัญ : ทฤษฎีจุดตรึง  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3032  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน เกรียงไกร ราชกิจ  วันที่เขียน 31/7/2561 12:51:18  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/5/2567 8:37:25