เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตามคำสำคัญ
จริยธรรมการวิจัย
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ
:
จริยธรรมการวิจัย
1
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา
»
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการพิจารณาตำแหน่งทางวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ก.พ.ว.) ในวันที่ 25 มิถุนายน 2567 เวลา 08.30-16.00 น. ณ ห้องประชุม 304 ชั้น 3 สำนักวิจัยและส่งเสริมวิชาการการเกษตร อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพฯ
คำสำคัญ :
การขอตำแหน่งทางวิชาการ
การตีพิมพ์ผลงาน
จริยธรรมการวิจัย
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
139
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
พิกุล ศรีดารัตน์
วันที่เขียน
7/7/2567 15:01:14
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:42:54
การอบรม สัมนา
»
จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ (กิจกรรมที่ 1) "จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์" จัดขึ้นในวันที่ 16 พ.ค.2565 โดย มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ :
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1341
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
วันวสา วิโรจนารมย์
วันที่เขียน
19/5/2565 13:49:53
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 16:46:01
ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยสายสังคมศาสตร์
»
จริยธรรมการวิจัยในคน
แนวทางจริยธรรมการวิจัยและการทดลองในคน หรือแนวทางหรือหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน โดยมีแนวทางที่เกี่ยวข้องเช่น คำประกาศกรุงเฮลซิงกิ หรือปฏิญญาเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki) กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทางที่องค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory Authorities, NRA) และสถาบันกำหนด โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการที่สถาบัน องค์กร หรือหน่วยงานแต่งตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่พิจารณาทบทวนด้านจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอโครงร่างการวิจัยในคน เพื่อคุ้มครองสิทธิ ศักดิ์ศรี ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในการวิจัย คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของสถาบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินการมาตรฐาน (SOPs) ของคณะกรรมการจริยธรรมฯ ที่ชัดเจนสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและแนวทางของประเทศตลอดจนแนวทางสากล
คำสำคัญ :
การวิจัย
จริยธรรมการวิจัยในคน
กลุ่มบทความ :
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ :
กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
7678
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ณภัทร เรืองนภากุล
วันที่เขียน
14/8/2564 23:27:26
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:09:16