รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : การวิจัย
การอบรม สัมนา » เขียนโครงการวิจัยอย่างไรให้ได้ทุน?
กิจกรรมการจัดการความรู้ครั้งที่ 2/2564 "เขียนโครงการอย่างไรให้ได้ทุน?" จัดขึ้นในวันที่ 3 พ.ค.2565 โดย คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ : เทคนิคการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 932  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 19/5/2565 14:17:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/3/2567 0:24:42
การอบรม สัมนา » จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์
โครงการพัฒนาศักยภาพการทำวิจัยของอาจารย์ (กิจกรรมที่ 1) "จริยธรรมการทำวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์" จัดขึ้นในวันที่ 16 พ.ค.2565 โดย มมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด ในรูปแบบ online ระบบ Zoom Meeting
คำสำคัญ : จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1263  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 19/5/2565 13:49:53  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 13:47:57
ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยสายสังคมศาสตร์ » จริยธรรมการวิจัยในคน
แนวทางจริยธรรมการวิจัยและการทดลองในคน หรือแนวทางหรือหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน โดยมีแนวทางที่เกี่ยวข้องเช่น คำประกาศกรุงเฮลซิงกิ หรือปฏิญญาเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki) กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทางที่องค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory Authorities, NRA) และสถาบันกำหนด โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการที่สถาบัน องค์กร หรือหน่วยงานแต่งตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่พิจารณาทบทวนด้านจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอโครงร่างการวิจัยในคน เพื่อคุ้มครองสิทธิ ศักดิ์ศรี ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในการวิจัย คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของสถาบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินการมาตรฐาน (SOPs) ของคณะกรรมการจริยธรรมฯ ที่ชัดเจนสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและแนวทางของประเทศตลอดจนแนวทางสากล
คำสำคัญ : การวิจัย  จริยธรรมการวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2663  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณภัทร เรืองนภากุล  วันที่เขียน 14/8/2564 23:27:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 18:40:13
ความรู้เกี่ยวกับการวิจัยสายสังคมศาสตร์ » จริยธรรมการวิจัยในคน
แนวทางจริยธรรมการวิจัยและการทดลองในคน หรือแนวทางหรือหลักเกณฑ์ด้านจริยธรรมเกี่ยวกับการศึกษาวิจัยและการทดลองในคน โดยมีแนวทางที่เกี่ยวข้องเช่น คำประกาศกรุงเฮลซิงกิ หรือปฏิญญาเฮลซิงกิ (Declaration of Helsinki) กฎหมาย ข้อบังคับ ข้อกำหนดและแนวทางที่องค์กรกำกับดูแลระดับประเทศ (National Regulatory Authorities, NRA) และสถาบันกำหนด โดยมีการแต่งตั้งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ซึ่งหมายถึง คณะกรรมการที่สถาบัน องค์กร หรือหน่วยงานแต่งตั้งขึ้นเพื่อทำหน้าที่พิจารณาทบทวนด้านจริยธรรมการวิจัยของข้อเสนอโครงร่างการวิจัยในคน เพื่อคุ้มครองสิทธิ ศักดิ์ศรี ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัครในการวิจัย คณะกรรมการ จริยธรรมการวิจัยของสถาบันต้องมีองค์ประกอบและวิธีดำเนินการมาตรฐาน (SOPs) ของคณะกรรมการจริยธรรมฯ ที่ชัดเจนสอดคล้องกับ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและแนวทางของประเทศตลอดจนแนวทางสากล
คำสำคัญ : การวิจัย  จริยธรรมการวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2663  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ณภัทร เรืองนภากุล  วันที่เขียน 14/8/2564 23:27:26  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 18:40:13
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » เอกสารเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการอบรม “จริยธรรมการวิจัยในคน สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3”
โครงการอบรม จริยธรรมการวิจัยในคน สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เป็นขั้นตอน กระบวนการที่จะต้องดำเนินการภายใต้การทำวิจัยในคน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสอบถาม สัมภาษณ์ เป็นต้น ดังนั้น การที่จะต้องมีการรับรองในด้านจริยธรรมการวิจัยในคนถือเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่ง ใยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากอาสาสมัคร
คำสำคัญ : การวิจัยในคน  จริยธรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1513  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 5/8/2564 11:27:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 6:10:18
กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร » การประเมินผลกระทบจากการวิจัย
คำสำคัญ : การประเมินผลกระทบจากการวิจัย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1674  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน นลินี คงสุบรรณ์  วันที่เขียน 21/9/2563 22:27:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 15:03:32
การอบรม สัมนา » จริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์
ถ่ายทอดองค์ความรู้จากการอบรมจริยธรรมการวิจัยในคนสำหรับการวิจัยทางด้านสังคมศาสตร์ครั้งที่ 2 ณ ห้องประชุมข้าวหอมมะลิ อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันที่ 29 ก.ค.2563
คำสำคัญ : การวิจัยในคน  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 1576  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน วันวสา วิโรจนารมย์  วันที่เขียน 21/9/2563 1:58:44  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/3/2567 5:18:05
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3176  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 16:06:02
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3176  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 16:06:02
การเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ » วิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์แบบผสม (Mixed Method)
โดยทั่วไปวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์จะมีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ เนื่องจากงานวิจัยบางชิ้นงานต้องการทำให้ผลการวิจัยดีขึ้น มีความน่าเชื่อถือ มีความสอดคล้อง และมีความทันสมัย ดังนั้น จึงมีการนำการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณมาใช้ร่วมกัน การนำการวิจัยทั้ง 2 แบบ มาใช้ร่วมกันมักใช้การวิจัยเชิงปริมาณเป็นตัวหลักหรือเป็นตัวเริ่มต้นในการศึกษาก่อน แล้วเสริมด้วยงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ 70% และการวิจัยเชิงคุณภาพ 30% นั่นคือการวิจัยเชิงคุณภาพทำขึ้นเพื่อสนับสนุนผลจากการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเฉพาะในประเด็นที่ต้องการเน้น
คำสำคัญ : การวิจัยเชิงคุณภาพ  การวิจัยเชิงปริมาณ  การวิจัยแบบผสม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3176  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ลัคนา วัฒนะชีวะกุล  วันที่เขียน 23/7/2562 15:25:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 16:06:02
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย
กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย และเทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา ณ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
คำสำคัญ : การวิจัยทางด้านพีชคณิต  การวิจัยทางทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory)  เทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2978  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:39:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 28/3/2567 7:37:25
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย
กิจกรรมการประชุมเชิงวิชาการทางคณิตศาสตร์เพื่อพัฒนาแนวคิดด้านการวิจัย และเทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา ณ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา ระหว่างวันที่ 15-16 ธันวาคม พ.ศ. 2561
คำสำคัญ : การวิจัยทางด้านพีชคณิต  การวิจัยทางทฤษฎีจุดตรึง (Fixed Point Theory)  เทคนิคการเขียนหนังสือและตำรา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2978  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 18/4/2562 11:39:50  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 28/3/2567 7:37:25
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับจากการอบรม » ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมสัมมนาวิชาการ NACED ครั้งที่ 1
การทำวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศในปัจจุบัน ได้ยึดแนวทางการทำวิจัยตามยุทธศาสตร์การวิจัยและนวตกรรม 20 ปี (พศ.2561 – 2580) ซึ่งมีเป้าหมายว่า ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวตกรรม 20 ปี (พศ.2561 – 2580) ซึ่งมีเป้าหมายของการพัฒนาประเทศในภาพรวม ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
คำสำคัญ : ยุทธศาสตร์การวิจัยและนวัตกรรม  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 2339  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน รุ่งกานต์ ใจวงค์ยะ  วันที่เขียน 2/4/2562 23:44:11  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 27/3/2567 14:23:31
บริการฐานข้อมูลเฉพาะทาง » การพัฒนาคุณภาพฐานข้อมูลงานวิจัยและวิเคราะห์องค์ความรู้งานวิจัยสาขา พืชศาสตร์ด้วยระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบศัพท์สัมพันธ์ : กรณีฐานข้อมูล งานวิจัยกล้วยไม้และลำไยของประเทศ
การวิจัยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาลักษณะดรรชนีหัวเรื่องและศัพท์สัมพันธ์ ด้าน พืชศาสตร์รายชนิด และพัฒนาบัญชีคำหัวเรื่องแบบแผน (pattern heading) ของพืช กรณีกล้วยไม้ และลำไย (2) เพื่อพัฒนาคุณภาพฐานข้อมูลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์กล้วยไม้ และลำไย ในด้านดรรชนีหัวเรื่อง (3) เพื่อศึกษาแนวทางการออกแบบและประยุกต์ใช้ระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบ ศัพท์สัมพันธ์ในโปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ (4) เพื่อศึกษาองค์ความรู้หรือสถานภาพงานวิจัยด้านกล้วยไม้และลำไย ในแง่การผลิต การกระจายสารสนเทศ และขอบเขตเนื้อหาที่มีการศึกษากันมากซึ่งพิจารณาจากหัวเรื่องในผลงานนั้น ดำเนินการรวบรวมข้อมูลประชากรคือ (1) รายการคำดรรชนีหัวเรื่อง จากคู่มือและฐานข้อมูลหัวเรื่องฉบับมาตรฐาน และจากฐานข้อมูลห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (2) คำดรรชนีหัวเรื่องของเอกสารงานวิจัย จากฐานข้อมูลบรรณานุกรมงานวิจัยกล้วยไม้และลำไยที่รวบรวมจากแหล่งสารสนเทศสำคัญๆ ของประเทศ เครื่องมือที่ใช้คือโปรแกรม CDS/ISIS, Elib สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. การพัฒนาบัญชีคำดรรชนีหัวเรื่องย่อยของพืชรายชนิด (กล้วยไม้ ลำไย) ตามแนวหัวเรื่องแบบแผน (pattern heading) ได้ชุดคำประมาณ 300 คำ และการศึกษาลักษณะดรรชนีที่สร้างขึ้น พบว่าหัวเรื่องย่อยภาษาอังกฤษที่กำหนดเป็นภาษาไทยแล้วมีจำนวนน้อย บางกรณีมีรูปแบบทางภาษาของคำต่างกัน หัวเรื่องย่อยบางคำอาจไม่เหมาะสมกับพืชบางชนิด หัวเรื่องหลักที่มีหัวเรื่องย่อยประกอบมีข้อมูลโยงไปศัพท์สัมพันธ์อื่นน้อยกว่าหัวเรื่องหลักทั่วไป หัวเรื่องสำหรับพันธุ์พืชของกล้วยไม้มีปัญหากำหนดคำ 2. การใช้ระบบดรรชนีหัวเรื่องแบบศัพท์สัมพันธ์ในโปรแกรมสืบค้นสารสนเทศ Elib ประยุกต์ใช้งานได้ ฐานข้อมูลงานวิจัยกล้วยไม้ 962 รายชื่อ และฐานข้อมูลงานวิจัยลำไย 844 รายชื่อ 3. การประเมินคุณภาพดรรชนีหัวเรื่องในฐานข้อมูลที่ทำดรรชนีใหม่ (re-cataloging) พบว่า (1) ฐานข้อมูลกล้วยไม้ : จำนวนหัวเรื่องเฉลี่ย 5.26 คำ/ชื่อเรื่อง เพิ่มขึ้น 2.39 คำ/ชื่อเรื่อง จำนวนคำดรรชนีหัวเรื่องในระบบที่ค้นคืนได้ (index postings) เพิ่มขึ้นร้อยละ 83.20 และจำนวนหัวเรื่องกล้วยไม้ที่มีหัวเรื่องย่อยเพื่อแสดงความชี้เฉพาะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.60 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ว่าจะมีจำนวนคำเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 30.00 (2) ฐานข้อมูลลำไย : จำนวนหัวเรื่องเฉลี่ย 5.91 คำ/ชื่อเรื่อง เพิ่มขึ้น 2.65 คำ/ชื่อเรื่อง จำนวนคำดรรชนีหัวเรื่องในระบบที่ค้นคืนได้ (index postings) เพิ่มขึ้นร้อยละ 81.39 และจำนวนหัวเรื่องลำไยที่มีหัวเรื่องย่อยเพื่อแสดงความชี้เฉพาะ เพิ่มขึ้นร้อยละ 66.32 จึงยอมรับสมมติฐานการวิจัยที่ว่าจะมีจำนวนคำเพิ่มขึ้นมากกว่าร้อยละ 30.00 4. องค์ความรู้หรือสถานภาพงานวิจัยด้านกล้วยไม้และลำไย ในแง่การผลิต การกระจาย สารสนเทศ และขอบเขตเนื้อหาที่มีการศึกษากันมากซึ่งพิจารณาจากหัวเรื่อง พบว่า (1) หน่วยงานที่ผลิตงานวิจัยด้านกล้วยไม้ 10 อันดับแรกมีผลงานรวมกันร้อยละ 76.03 ของผลงานทั้งหมด ส่วนหน่วยงานที่ผลิตงานวิจัยด้านลำไย 10 อันดับแรกมีผลงานรวมกันร้อยละ 85.24 ของผลงานทั้งหมด (2) ผลงานวิจัยที่จัดพิมพ์ช่วงปี 2550-2556 และ 2540-2549 มีสัดส่วนใกล้เคียงกัน ประมาณร้อยละ 40 ของผลงานทั้งหมด รวม 2 ช่วงรวมกันประมาณร้อยละ 80 ของผลงานทั้งหมด (3) การเผยแพร่สารสนเทศงานวิจัยกล้วยไม้และลำไยในแหล่งสารสนเทศหรือห้องสมุดต่างๆ พบว่าหน่วยงานเฉพาะ เช่น ศูนย์วิทยาการกล้วยไม้ ศูนย์วิจัยและพัฒนาลำไย และที่เป็นแหล่งกลางของการรวบรวมข้อมูล เช่น ฐานข้อมูล Thailand Digital Collection (TDC) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ จะมีจำนวนงานวิจัย แห่งละประมาณร้อยละ 35-60 ของผลงานทั้งหมด (4) ขอบเขตเนื้อหาของงานวิจัยกล้วยไม้และลำไย ที่มีการศึกษากันมาก โดยพิจารณาจากหัวเรื่องหลักและหัวเรื่องย่อยที่จำแนกเนื้อหา พบว่ามีหัวข้อศึกษามากประมาณ 30 หัวข้อ จำนวนคำดรรชนีตามเนื้อหา 30 หัวข้อนี้มีรวมกันประมาณ 1 ใน 3 ของเนื้อหาทั้งหมด คำสำคัญ : ดรรชนี ; หัวเรื่อง ; ศัพท์สัมพันธ์ ; รายงานการวิจัย ; วิทยานิพนธ์ ; กล้วยไม้ ; ลำไย
คำสำคัญ : กล้วยไม้  ดรรชนี  รายงานการวิจัย  ลำไย  วิทยานิพนธ์  ศัพท์สัมพันธ์  หัวเรื่อง  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานห้องสมุด
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3038  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน สุธรรม อุมาแสงทองกุล  วันที่เขียน 26/9/2561 9:30:02  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 8:31:05
รายงานสรุปการประชุม อบรม สัมมนา » การเขียนข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ (ลูกไก่)
สรุปความรู้ที่ได้จาการเข้าร่วมสัมมนา ทิศทางการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย โครงการ "วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย" (Training for the trainers) (แม่ไก่) และโครงการ "สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่" (ลูกไก่) วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ กทม.
คำสำคัญ : การเขียนข้อเสนอการวิจัยให้ได้ทุน  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3428  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิณนภา หมวกยอด  วันที่เขียน 28/9/2559 14:05:41  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/3/2567 11:32:28
รายงานสรุปการประชุม อบรม สัมมนา » ทิศทางการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัยของประเทศ
การรายงานสรุปการสัมมนา ทิศทางการพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย โครงการ “วิทยากรหลักสูตรการพัฒนานักวิจัย” (Training for the trainers)(แม่ไก่) และโครงการ “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) วันจันทร์ ที่ 26 กันยายน 2559 เวลา 08.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม โรงแรมมารวย การ์เด้นท์ กทม.
คำสำคัญ : การพัฒนาบุคลากรด้านการวิจัย  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3777  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน พิณนภา หมวกยอด  วันที่เขียน 28/9/2559 13:23:48  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 13:07:36
เข้าร่วมโครงการ » โครงการฝึกอบรม “สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่” (ลูกไก่) รุ่นที่ 4
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรม มีความรู้ ความเข้าใจ และเรียนรู้ประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถจัดทำข้อเสนอการวิจัยได้ และเพื่อบูรณาการเครือข่ายนักวิจัย จากหน่วยราชการ องค์กรการวิจัยต่างๆ ให้เข้มแข็งและยั่งยืนต่อไป
คำสำคัญ : การจัดทำข้อเสนอการวิจัย  นักวิจัยรุ่นใหม่  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3862  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน จีรวรรณ พัชรประกิติ  วันที่เขียน 14/3/2559 15:47:58  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 29/3/2567 12:58:44