ผลของอุณหภูมิและความหนาต่อค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ยังผลของการอบแห้งหัวไชเท้าแผ่น
วันที่เขียน 12/3/2561 20:23:17     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 26/4/2568 12:25:54
เปิดอ่าน: 2634 ครั้ง

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณลักษณะเฉพาะของการอบแห้งแผ่นหัวไชเท้าขาวที่ความหนา 2, 3 และ 4 มิลลิเมตร และอุณหภูมิอากาศในการอบแห้งที่ 60, 70 และ 80 องศาเซลเซียส พบว่าความชื้นลดลงจากผลของระดับความหนาและอุณหภูมิอากาศในการอบแห้งจาก 10.11±0.83 ถึง 0.031±0.0014 กรัมน้ำ กรัม-1น้ำหนักแห้ง โดยใช้เวลาในการอบแห้งประมาณ 95 ถึง 230 นาที ผลของความหนาและอุณหภูมิในการอบแห้งถูกนำมาวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์การแพร่ยังผล (Deff) ในการถ่ายเทมวลความชื้นของหัวไชเท้าแผ่น ซึ่งสามารถอธิบายได้จากสมการการแพร่ของฟิค และค่า Deff มีค่าระหว่าง 1.220.001 ×10-10 ถึง 9.730.043 ×10-10 ตารางเมตรต่อวินาที ค่า Deff มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิและระดับความหนาเพิ่มขึ้น ค่าพลังงานกระตุ้น (Ea) ซึ่งได้จากสมการอาร์เรเนียสมีค่าเท่ากับ 53.795.82, 61.91 7.20 และ 66.5111.27 กิโลจูลต่อโมล

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
GIS issue » สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568
สรุปผลการเข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตร “การพัฒนาโปรแกรมด้านการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ทางอินเทอร์เน็ต” 17-21 มีนาคม 2568 เป็นหลักสูตรฝึกอบรมโดยสำน้กพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการพัฒนาโปรแก...
Geodatabase  leaflet  Mapserver  PostGIS  PostgreSQL  Web Map Service     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 7/4/2568 22:34:16  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2568 18:36:43   เปิดอ่าน 116  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การเพิ่มประสิทธิภาพการสอนและการเรียนรู้ด้วย Microsoft Copilot ในการอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot"
การอบรมเชิงปฏิบัติการ "Enhance Teaching and Learning with Microsoft Copilot" ที่จัดโดย Microsoft Learn เป็นโอกาสสำคัญสำหรับนักการศึกษาในการเรียนรู้และนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์มาใช้ในการสอนและการเรีย...
AI ปัญญาประดิษฐ์  การเรียนการสอนดิจิทัล  การเรียนรู้ Microsoft  เทคโนโลยี Copilot  ประสิทธิภาพ     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน จักรกฤช เตโช  วันที่เขียน 4/4/2568 10:52:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 24/4/2568 22:27:50   เปิดอ่าน 480  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ “ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)” » เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50)
เข้าร่วมประชุมวิชาการระดับนานาชาติด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางเทคโนโลยี ครั้งที่ 50 (STT50) และนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ 25 - 27 พฤศจิกายน 2567 ณ โรงแรมดิเอ็มเพรส จังหวัดเชียงใหม่
STT50  การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ  งานวิจัย     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
ผู้เขียน ธวัลรัตน์ รัตนเดชานาคินทร์  วันที่เขียน 10/1/2568 14:11:20  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 25/4/2568 10:42:55   เปิดอ่าน 257  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง