การอบรมหลักสูตรความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (BSL-2)
วันที่เขียน 15/8/2567 14:20:13     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:37:14
เปิดอ่าน: 182 ครั้ง

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) คือการใช้แนวคิด มาตรการของ Containment principles, Technologies, และ Practices ที่ช่วยในการป้องกัน การติดเชื้อหรือการหลุดรอดของเชื้อโรค หรือสารพิษ โดยไม่ได้ตั้งใจต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่นหรือสุขภาพของบุคคลอื่น หรือ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม โดยมี BSL เป็นระดับความปลอดภัยของ biocontainment ที่เหมาะสมกับการทำงานกับเชื้อที่มีความรุนแรงในแต่ละระดับ

การอบรมหลักสูตรความปลอดภัยทางชีวภาพและการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (BSL-2)

ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) คือการใช้แนวคิด มาตรการของ Containment principles, Technologies, และ Practices ที่ช่วยในการป้องกัน การติดเชื้อหรือการหลุดรอดของเชื้อโรค หรือสารพิษ โดยไม่ได้ตั้งใจต้องไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อบุคคลอื่นหรือสุขภาพของบุคคลอื่น หรือ ก่อให้เกิดความเสียหายต่อสิ่งแวดล้อม โดยมี BSL เป็นระดับความปลอดภัยของ biocontainment ที่เหมาะสมกับการทำงานกับเชื้อที่มีความรุนแรงในแต่ละระดับ ได้แก่

 Biosafety level 1 (BSL1)  เป็นระดับความปลอดภัยพื้นฐาน สามารถทำงานกับเชื้อโรคกลุ่มที่ 1 เชื้อที่ไม่ก่อโรคในคนหรือ สัตว์ หรือพืช หรือเชื้อโรคที่มีความเสี่ยงน้อยหรืออันตรายน้อย  

Biosafety level 2 (BSL2) ใช้ทำงานกับ 1) เชื้อโรคกลุ่มที่ 2 เชื้อทำให้เกิดโรคในคนและสัตว์ หรือเชื้อโรคที่มีความเสี่ยงปานกลางหรืออันตราย ปานกลาง และไม่สามารถกระจายในอากาศ 2) พิษจากสัตว์ทุกกลุ่ม  3) สารชีวภาพทุกกลุ่ม ผู้รับผิดชอบต้องประเมินความเสี่ยง และบริหารจัดการให้เหมาะสม

Biosafety level 3 (BSL3) ใช้ทำงานกับเชื้อโรคกลุ่มที่ 3 เชื้อทำให้เกิดโรคร้ายแรงในคนและสัตว์ หรือเชื้อโรคกลุ่มที่ 2 ที่มีโอกาส แพร่กระจายทางอากาศ หรือเชื้อโรคที่มีความเสี่ยงสูงหรืออันตรายสูง ผู้รับผิดชอบต้องประเมินความเสี่ยง และบริหารจัดการให้

เหมาะสม 

Biosafety level 4 (BSL4) ใช้ทำงานกับเชื้อโรคกลุ่มที่ 4 เชื้อทำให้เกิดโรคร้ายแรงมากในคนและสัตว์ ไม่มียารักษา หรือเชื้อโรคที่มีความเสี่ยง สูงมากหรืออันตรายสูงมาก ผู้รับผิดชอบต้องประเมินความเสี่ยง และบริหารจัดการให้เหมาะสม โครงการต้องผ่าน การพิจารณาจากคณะกรรมการเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ก่อนการดำเนินงาน

           การบริหารจัดการความเสี่ยงทางชีวภาพ เป็นขบวนการจัดการความเสี่ยงในการทำงานกับเชื้อก่อโรคและพิษใน ห้องปฏิบัติการทางชีวภาพ (สถานปฏิบัติการ) ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนการทำงานและข้อปฏิบัติ ที่จะทำให้เกิดความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosafety) การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (biosecurity) และการปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพของเชื้อก่อโรคและพิษเหล่านั้น  มีอุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล เพื่อทราบชนิด และลักษณะการใช้ งานของอุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (PPE) และเลือกใช้อุปกรณ์ปกป้องส่วนบุคคล (PPE) ได้อย่างถูกต้องตามหลักความปลอดภัยทาง ชีวภาพ      การทำลายเชื้อโรคเพื่อการลดการปนเปื้อน (Decontamination) กระบวนการเพื่อขจัดหรือลดความเป็นอันตรายเนื่องจากวัสดุ ติดเชื้อ จากวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อให้เกิดความปลอดภัย  มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการ ขยะติดเชื้อ  มูลฝอยติดเชื้อ และ เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการ จัดการกรณีเกิดเหตุสารชีวภาพหกหล่น/ รั่วไหลเพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานเข้าใจตรงกัน มีแนวทางปฏิบัติงานมีทิศทางเดียวกันทั้งหมด ลดความผิดพลาดในการปฏิบัติงาน สามารถใช้เป็นแนวทางขององค์กร สถานปฏิบัติการ ในการจัดการขั้นตอนการปฏิบัติให้เป็นมาตรฐาน 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1469
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานช่วยวิชาการ
รุ่งทิพย์ กาวารี » #SFC เทคนิคการแยกสารด้วยวิธีโครมาโตกราฟีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เทคนิคโครมาโตกราฟีในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ ใช้คอลัมน์แบบเปิดในการแยกสาร ซึ่งใช้เวลานานมาก มีความละเอียดต่ำ มีอัตราการไหลต่ำ (ขึ้นอยู่กับแรงโน้มถ่วง) การทำ Gradient ไม่สามารถทำได้ และจำเป็นต้องมี...
Flash  HPLC  Prep HPLC  SFC  Supercritical Fluid Chromatography     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 17/11/2567 16:18:10  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 14:46:20   เปิดอ่าน 138  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) » ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)
ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) และการรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) มีความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอันตรายที่เกี่ยวข้องกับชีวภาพ โดยความปลอดภัยเน้นการป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค ขณะ...
การรักษาความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity)  ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety)     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน อนุชิดา วงศ์ชื่น  วันที่เขียน 24/9/2567 23:02:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 14:12:21   เปิดอ่าน 277  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
เบญญาภา หลวงจินา » ความปลอดภัยในห้องปฏฺิบัติการเคมี
ปัจจุบันกิจกรรมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์มีความจำเป็นที่ต้องนำสารเคมีหลากหลายชนิดเข้ามาใช้ในชีวิตประจำวัน ทั้งทางด้านการเกษตร ด้านการศึกษา ด้านอุตสาหกรรมและด้นอื่น ๆ รวมทั้งสารเคมีเป็นส่วนประกอบที่ส...
ความปลอดภัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน เบญญาภา หลวงจินา  วันที่เขียน 29/8/2567 15:42:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 8:40:41   เปิดอ่าน 360  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
รุ่งทิพย์ กาวารี » #การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ
นโยบายการขับเคลื่อนความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการแบบยั่งยืนในประเทศไทย โดย นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อํานวยการสํานักงานการวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กล่าวถึง การลงทะเบียนเพื่อขอรับเ...
Peer Evaluation  การขอทุนวิจัยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ  การรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการ  ความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานช่วยวิชาการ
ผู้เขียน รุ่งทิพย์ กาวารี  วันที่เขียน 29/8/2567 13:43:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:01:52   เปิดอ่าน 180  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง