รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : ผักสวนครัว
ถ่านชีวภาพ » การผลิตถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์
ถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ (Biochar) คือวัสดุที่อุดมด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ฟางข้าว เหง้ามันสําปะหลัง ซังและต้นข้าวโพด มูลสัตว์ กากตะกอนของเสีย เป็นต้น แม้กระทั่งมูลสัตว์นำมาผ่านกระบวนการเผาไหม้ที่มีการควบคุม อุณหภูมิและอากาศหรือจำกัดอากาศให้เข้าไปเผาไหม้น้อยที่สุดซึ่งกระบวนการเผาไหม้นี้ เรียกว่า “การแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิส” ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยมาก มีงานวิจัยที่ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมีหลายด้าน เช่น การปรับปรุงดิน และช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการปลูกได้อีกด้วย แล้วแต่ชนิดของพืชที่ปลูก มีงานวิจัยที่นำถ่านชีวภาพไปใช้กับพืชทางการเกษตร ใช้เป็นวัสดุปลูกร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตร การลดการดูดซับสารเคมีที่ใช้กำจัดวัชพืชและศัตรูพืช และโลหะหนักที่อยู่ในดินและน้ำ ของพืชที่ปลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีกลุ่มนี้ไว้ ทำให้ลดผลกระทบต่อพืชที่ปลูกจากสารเคมีและโลหะหนักที่ปนเปื้อน ใช้ดูดซับน้ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นตัวเร่ง ในปฏิกริยาในกระบวนการผลิตไบโอดีเซละและไบโอแก๊ส ใช้เป็นวัสดุเพื่อผลิตชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์ ผลิตกราฟีน เป็นต้น
คำสำคัญ : biochar  kiln  กราฟีน  ความร้อน  ดูดซับ  ตัวเร่ง  เตา  เตาไบโอชาร์  ถ่าน  ถ่านชีวภาพ  บำบัดน้ำเสีย  ไบโอชาร์  ปนเปื้อน  ปรับปรุงดิน  ปุ๋ยหมัก  ผักสวนครัว  ไม้ผล  โลหะหนัก  สมุนไพร  สารเคมีปนเปื้อน  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 66698  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย  วันที่เขียน 26/10/2562 20:32:24  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:58:01
พืชข้างรั้ว-สวนครัวน้อย » หอมกลิ่น...ชมจันทร์
ดอกชมจันทร์ มีอีกชื่อหนึ่งที่เรียกกันคือ "บานดึก"เนื่องจากดอกจะบานในช่วงเวลากลางคืนมีสรรพคุณช่วยแก้ร้อนใน ทำให้นอนหลับและเป็นยาระบายอ่อนๆ รวมทั้งมีคุณค่าทางโภชนาการอุดมไปด้วย โปรตีน วิตามินบี ซี ฟอสฟอรัสและมีแคลเซียมสูง
คำสำคัญ : คณะผลิตกรรมการเกษตร  ชมจันทร์  พืชผักสวนครัว  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ห้องสมุด  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : เกษตรกรรม อุตสาหกรรม ธุรกิจการค้า
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4452  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 22/10/2558 16:14:02  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:02
Green Life » เกษตรพอเพียงกับสวนครัว(น้อย)
การปลูกพืชผักสวนครัวในแนวเกษตรอินทรีย์จะช่วยทำให้เกิดความสมดุลในระบบนิเวศของธรรมชาติ เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงการได้บริโภคพืชผักสวนครัวที่ปลอดภัยช่วยทำให้ชีวิตยืนยาวและมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง
คำสำคัญ : เกษตรพอเพียง  เกษตรอินทรีย์  พืชผักสวนครัว  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4779  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 29/5/2558 16:01:05  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:48:59
Green Life » ผักริมรั้ว-สวนครัวหลังบ้าน
การปลูกพืชผักสวนครัวไว้รับประทานเอง นอกจากจะได้รับประทานผักที่สะอาดปลอดภัยแล้วยังช่วยทุ่นค่าใช้จ่ายที่ใช้ไปในการซื้อพืชผักได้อีกมาก ที่สำคัญพืชผักสวนครัวเหล่านี้ สามารถเป็นได้ทั้งอาหารและเป็นสมุนไพรที่ช่วยต้านโรคและบำรุงสุขภาพร่างกายได้เป็นอย่างดี
คำสำคัญ : กระเจี๊ยบเขียว  ผักริมรั้ว  พืชผักสวนครัว  มะเขือเปราะ  มะระจีน  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 7591  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 26/5/2558 9:54:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:23:25
Green Life » Green life ตอน..."เรื่องราวของคนรักผัก"
การปลูกพืชผักสวนครัวในแนวเกษตรอินทรีย์ช่วยทำให้ชีวิตและสิ่งแวดล้อมมีความปลอดภัย ในฐานะที่ผู้เขียนเป็นส่วนหนึ่งของบุคลากรมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ขอร่วมส่งเสริมสนับสนุนและสืบสานนำความรู้ที่ได้รับจากการฝึกอบรม นำไปบูรณาการสู่การปฏิบัติตามแนวทางของมหาวิทยาลัยที่ขับเคลื่อนสู่่การเป็น Organic Green and Eco University
คำสำคัญ : คนรักผัก  น้ำหมักมูลไส้เดือนดิน  พืชผักสวนครัว  มหาวิทยาลัยแม่โจ้  ห้องสมุดคณะผลิตกรรมการเกษตร  
กลุ่มบทความ : บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ : ธรรมชาติ สัตว์ ต้นไม้ สิ่งแวดล้อม
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 4974  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ปาณิศา วงค์ใส  วันที่เขียน 15/9/2557 10:44:12  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:51:48