ตอนที่ 1 : ข้อมูลส่วนตัวของสมาชิก
รหัสอ้างอิง : 401
ชื่อสมาชิก : พัฒนพงศ์ เทียนชัย
เพศ : ชาย
อีเมล์ : pattana@mju.ac.th
ประเภทสมาชิก : บุคลากรภายใน[สังกัด]
ลงทะเบียนเมื่อ : 4/4/2554 13:38:06
แก้ไขล่าสุดเมื่อ : 4/4/2554 13:38:06


ตอนที่ 2 : ประวัติการเขียนบทความของสมาชิก
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
ตามหนังสือที่ อว 69.5.1.1/ 832 ลงวันที่ 18 สิงหาคม 2565 ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วมโครงการจัดอบรมเสวนา เรื่อง “ภูมิปัญญาจากสรรพตำราดาราศาสตร์ไทย” เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2565 เวลา 09.00 – 21.00 น. ณ ห้องแอนโดรเมดา อาคารท้องฟ้าจำลองและนิทรรศการ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร จังหวัดเชียงใหม่นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ ฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ 1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ โครงการจัดอบรมเสวนาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ภูมิปัญญาจากสรรพตำราดาราศาสตร์ไทย และเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ภูมิปัญญาจากสรรพตำราดาราศาสตร์ไทย รองศาสตราจารย์บุญรักษา สุนทรธรรม ที่ปรึกษาสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) กล่าวเปิดโครงการจัดอบรมเสวนา โดยการเสวนาในครั้งนี้ มีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้ด้านภูมิปัญญาจากสรรพตำราดาราศาสตร์ไทย และทางด้านภูมิปัญญดาราศาสตร์ของคนไทยและความเชื่อมโยงกับดาราศาสตร์ของสากล ในการเสวนาในครั้งนี้ ได้มีบรรยายเรื่อง “ดาราศาสตร์ในกระแสอารยธรรมโลก” และ “ศิลปกรรมตำราดาว” โดยอาจารย์วรพล ไม้สน รองเลขาธิการสมาคมดาราศาสตร์ไทย และสัพพะตำราดาราศาสตร์กลุ่มชาติพันธุ์ไท โดย ดร.ดิเรก อินจันทร์ นักวิชาการศึกษา สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ พร้อมทั้ง “เรียนรู้ดาวฤกษ์-จักรราศี-ดาวนักขัตฤกษ์” และ “สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์” โดยเจ้าหน้าที่สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ 2. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ 1. ได้ทราบถึงความก้าวหน้าทางดาราศาสตร์ไทยในระดับสากล 2. ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ของนักดาราศาสตร์ไทย 3. ได้เห็นความเชื่อมโยง และการบูรณาการแบบองค์รวมทางด้านดาราศาสตร์ กับสหวิทยาการทางในแขนงต่าง ๆ (อาทิ เวลา จำนวน คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ ความเชื่อ-ศาสนา-ปรัชญา อารยธรรม และวิถีชีวิต) 3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) 1. สามารถนำความรู้ที่ได้ไปบูรณาการแบบองค์รวมในสาขาวิทยาศาสตร์และ คณิตศาสตร์ ได้เป็นอย่างดี 2. ได้พบปะแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ของนักดาราศาสตร์ไทย ในมุมมองดาราศาสตร์ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พร้อมนี้ได้แนบหลักฐานการเข้าร่วมประชุม ฯ จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน 1 แผ่น/ชุด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ ( รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย ) 9 กันยายน 2565
ตามหนังสือที่ อว ๖๙.๕.๑.๑/ ๒๔๔ ลงวันที่ ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๔ ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ ๓ เรื่อง รับฟัง แลกเปลี่ยนความรู้ ในรูปแบบโปสเตอร์และการนำเสนอผลงานวิจัย เมื่อวันที่ ๑๗ มีนาคม ๒๕๖๔ ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผ่านระบบออนไลน์นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการดังกล่าวเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ ๑. รูปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ ๓ ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เปิดโอกาสให้นักศึกษา คณาจารย์ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ที่สนใจนำผลงานทางวิชาการและการวิจัยมาเสนอในที่ประชุมวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร. วีระพร ทองมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมวิชาการ โดยการประชุมในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการระหว่างนักวิจัยต่างสถาบันในการต่อยอดและพัฒนางานวิจัยในด้านต่าง ๆ ในกิจกรรมในครั้งนี้ ได้มีการบรรยายพิเศษของวิทยากรพิเศษในหลายๆเรื่อง อาทิ - โปรแกรมแนะนำพื้นที่ที่เหมาะสมในการเจาะกะโหลกเพื่อระบายน้ำในโพรงสมอง-นวัตกรรมล่าสุด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ - อุตสาหกรรมชีววิทยาสังเคราะห์ - นวัตกรรมเทคโนโลยีชีวภาพ ฯลฯ พร้อมทั้งมีการนำเสนอผลงานพิเศษของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์จากหลากหลายมหาวิทยาลัยโดยมีการแบ่งออกเป็น ๕ หมวดหมู่การนำเสนอ ได้แก่ ๑. กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ เกษตร และสิ่งแวดล้อม ๒. กลุ่มคณิตศาสตร์และสถิติ ๓. กลุ่มวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ๔. กลุ่มเคมี และนวัตกรรม เคมีอุตสาหกรรม ๕. กลุ่มวัสดุศาสตร์และฟิสิกส์ประยุกต์ ๒. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ ๒.๑ ได้ทราบถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา ๒.๒ ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ในการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา ๒.๓ ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการในแขนงต่าง ๆ ๓. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) ๓.๑ สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม มาใช้เป็นแนวทางในการทำงานวิจัยในสาขาได้เป็นอย่างดี ๓.๒ ได้มีความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ พร้อมนี้ได้แนบหลักฐานการเข้าร่วมประชุม จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน 1 ชุด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย) ๒๒ มีนาคม ๒๕๖๕
ตามหนังสือที่.......อว 69.5.5/ 106............. ลงวันที่.........20 เมษายน 2564................... ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วม.....การประชุมวิชาการ International Workshop on Digital Processing and Machine Learning (IWDM 2021) .... เรื่อง......รับฟัง แลกเปลี่ยนความรู้และนำเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ.................................. เมื่อวันที่........20 - 21 สิงหาคม 2564............ ณ.........ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผ่านระบบออนไลน์.............นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วม.......การประชุมวิชาการ ฯ................ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ 1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ International Workshop on Digital Processing and Machine Learning (IWDM 2021) ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิจัย นิสิต/นักศึกษา และผู้ที่สนใจทางด้านการประมวลผลภาพเชิงดิจิทัลและการเรียนรู้ของเครื่องได้เข้ารับฟัง แลกเปลี่ยนความรู้ และนำเสนอผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ศาสตราจารย์ ดร. สุเทพ สวนใต้ หัวหน้าโครงการ ได้เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมวิชาการ โดยการประชุมในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อให้เกิดความร่วมมือทางวิชาการระหว่างนักวิจัยต่างสถาบันในการต่อยอดและพัฒนางานวิจัยในด้านการประมวลผลภาพเชิงดิจิทัลและการเรียนรู้ของเครื่อง ในกิจกรรมในครั้งนี้ ได้มีการบรรยายพิเศษของวิทยากรพิเศษในหลายๆเรื่อง อาทิ ? The technique of enriching contractive mappings with an application to ant colony optimization algorithms for medical images edge detectionPractical Mathematical Applications Recent Case Studies in Thailand ? On a general class of operators in fixed point theory ? A multiobjective optimization approach to compute the efficient frontier in data envelopment analysis ? Some projection methods for solving variational inequality problems ? Reflected version of Krasnoselskii-Mann iteration with applications ? 2D Facial expression and movement of motion for pain identification with deep learning methods ? The Twilight of Artificial Learning ฯลฯ พร้อมทั้งการนำเสนอผลงานพิเศษของคณาจารย์ นักศึกษา จากหลากหลายมหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 หมวดหมู่ การนำเสนอได้แก่ 1. Image and signal processing 2. Machine learning and deep learning models and algorithms 3. Fixed point theory, Methods and its applications 4. Optimization theory, methods and applications 5. Nonlinear Analysis and applications 6. Numerical Analysis, Methods and applications 7. Computational methods in science and applied science 2. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ 1. ได้ทราบถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 2. ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ในการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 3. ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการในแขนงต่าง ๆ 3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) 1. สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม มาใช้เป็นแนวทางในการทำงานวิจัยในสาขาได้เป็นอย่างดี 2. ได้มีความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ พร้อมนี้ได้แนบ..............หลักฐานการเข้าร่วมประชุม ฯ..........................จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน....1....แผ่น/ชุด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (......รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย.......) .................31 สิงหาคม 2564..........................
- ยังไม่มีรายการคำถาม
ตามหนังสือที่.......อว 69.5.5/ 106............. ลงวันที่.........20 เมษายน 2564................... ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วม.....การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2564 ....เรื่อง.......การนำเสนอผลงานทางวิชาการทางด้านคณิตศาสตร์............................................................... เมื่อวันที่........27 - 29 พฤษภาคม 2564............ ณ.........ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง ผ่านระบบออนไลน์.............นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วม.......การประชุมวิชาการ ฯ................ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ 1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ การประชุมวิชาการทางคณิตศาสตร์ ครั้งที่ 25 ประจำปี พ.ศ. 2564 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเชื่อมโยงงานวิจัยทางด้านคณิศาสตร์เข้ากับงานทางด้านธุรกิจและอุตสาหกรรม ตามนโยบาย Thailand 4.0 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมได้นำเสนอผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์ในเชิงอุตสาหกรรม ศาสตราจารย์ ดร. สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ อธิการบดีสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมวิชาการ โดยการประชุมในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในการทำวิจัยและการเรียนการสอนระหว่างนักศึกษา คณาจารย์ นักวิจัย ทั้งภายในและภายนอกสถาบัน เพื่อส่งเสริมให้มีการเสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยในและต่างประเทศ ในกิจกรรมในครั้งนี้ ได้มีการบรรยายพิเศษของวิทยากรพิเศษในหลายๆเรื่อง อาทิ ? การจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ? Practical Mathematical Applications Recent Case Studies in Thailand ? Using a regional suitable conditions index to forecast the impact of climate change on dengue transmission in the Asia-Pacific Region ฯลฯ พร้อมทั้งการนำเสนอผลงานพิเศษของคณาจารย์ นักศึกษา จากหลากหลายมหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 หมวดหมู่ การนำเสนอได้แก่ 1. Algebra and Number Theory 2. Control Stability and Optimization - 2 – 3. Differential Equations 4. Statistics 5. Combinatorics and Graph Theory 6. Math Education 7. Numerical Analysis 8. Analysis and Fixed Point 9. Mathematical Modelling 2. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ 1. ได้ทราบถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 2. ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ในการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 3. ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการในแขนงต่าง ๆ 3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) 1. สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมอบรม มาใช้เป็นแนวทางในการทำงานวิจัยในสาขาได้เป็นอย่างดี 2. ได้มีความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ พร้อมนี้ได้แนบ..............หลักฐานการเข้าร่วมประชุม ฯ..........................จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน....1....แผ่น/ชุด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (......รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย.......) .................5 พฤษภาคม 2564..........................
- ยังไม่มีรายการคำถาม
ตามหนังสือที่.......อว 69.5.5/ 78.............. ลงวันที่.........15 มีนาคม 2564..................... ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วม.....การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 2 .....เรื่อง.......การนำเสนอผลงานทางวิชาการ............................................ เมื่อวันที่........19 มีนาคม 2564.................. ณ.........มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ผ่านระบบออนไลน์.............นั้น บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วม.......การประชุมวิชาการ ฯ................ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้ 1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ การจัดประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 2 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่งานวิจัยที่นำไปสู่การใช้ประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน การวิจัย และรับทราบความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ได้จากการศึกษาและวิจัย เป็นการแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นและประสบ การณ์ระหว่างนักศึกษา นักวิชาการ ในภาครัฐและเอกชน และเป็นการเผยแพร่ความรู้ ความก้าวหน้าทางวิชาการและวิจัยให้กว้างขวางยิ่งขึ้น รองศาสตราจารย์ ดร.วีระพล ทองมา อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เป็นประธานกล่าวเปิดการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2 (Sci-Tech 19th) พร้อมทั้งผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐปน ชื่นบาล คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้เป็นผู้กล่าวรายงานความเป็นมาและวัตถุประสงค์ของการประชุมในครั้งนี้ ซึ่งในการประชุมในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมแบบออนไลน์จำนวนทั้งหมด 183 คน ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ โดยการประชุมในครั้งนี้ จัดขึ้นเพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ ความสามารถที่เหมาะสมกับสาขาวิชาที่กำลังศึกษาอยู่ ที่เหมาะสมกับอาชีพในอนาคต และเพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีทักษะที่จำเป็นสำหรับการประกอบอาชีพ ในกิจกรรมในครั้งนี้ ได้มีการบรรยายพิเศษของคณาจารย์ภายในคณะวิทยาศาสตร์ พร้อมทั้งการนำเสนอผลงานพิเศษของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์จากหลากหลายมหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่งออกเป็น 5 หมวดหมู่ การนำเสนอได้แก่ 1. กลุ่มวิทยาศาสตร์ชีวภาพ 2. กลุ่มคณิตศาสตร์และสถิติ 3. กลุ่มวิทยาการคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ - 2 – 4. กลุ่มเคมี และเคมีอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีสิ่งทอ 5. กลุ่มวัสดุศาสตร์และฟิสิกส์ประยุกต์ โดยจัดการนำเสนอเป็นภาคบรรยายทั้งหมด 8 กลุ่มและภาคโปสเตอร์อีก 7 กลุ่ม 2. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่ 1. ได้ทราบถึงความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ที่ได้จากการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 2. ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ในการศึกษาและวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษา 3. ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการในแขนงต่าง ๆ 3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ) 1. ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการของคณาจารย์และนักศึกษา 2. ได้ประชาสัมพันธ์หลักสูตร 3. ได้มีความร่วมมือทางวิชาการร่วมกันกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ พร้อมนี้ได้แนบ..............หลักฐานการเข้าร่วมประชุม ฯ..........................จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน....1....แผ่น/ชุด จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ (......รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย.......) .................25 มีนาคม 2564..........................
- ยังไม่มีรายการคำถาม
รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ สืบเนื่องด้วย ข้าพเจ้า รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาคณิตศาสตร์ ได้รับอนุญาตเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการด้าน Fixed Point Theory and Optimization ในระหว่างวันที่ 17 – 18 มกราคม 2563 ณ ภาควิชาคณิตศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บัดนี้การประชุมได้เสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ข้าพเจ้าขอส่งรายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ ดังต่อไปนี้ รายงานสรุปเนื้อหาจากการเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติ ฯ การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการด้าน Fixed Point Theory and Optimization ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อกระตุ้นให้นักคณิตศาสตร์ ตลอดจนนิสิตนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยและสถาบันต่าง ๆ ทั่วประเทศได้ตื่นตัวและตระหนักถึงความสำคัญของการวิจัยและการเผยแพร่งานวิจัยทางคณิตศาสตร์ เพื่อเปิดโอกาสให้นักวิชาการ นักวิจัย คณาจารย์ และนักศึกษา ทั้งในและต่างประเทศ พบประแลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัยในสาขา Fixed Point และ Optimization ตลอดจนสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาและสร้างความก้าวหน้าทางวิชาการ เป็นการกระตุ้นและส่งเสริมให้คณาจารย์และนักศึกษาในมหาวิทยาลัยได้ตระหนัก และเห็นถึงความสำคัญในการสร้างผลงานวิจัย ตลอดจนการนำเสนอเผยแพร่ผลงานในการประชุมระดับนานาชาติ และเพื่อส่งเสริมและสร้างเครือข่ายงานวิจัยกับสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งเพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ผลงานวิชาการ ผลงานวิจัยในระดับนานาชาติ ทฤษฎีจุดตรึงและทฤษฎีการหาค่าเหมาะสมที่สุด (Fixed Point Theory and Optimization) ถือเป็นเครื่องมือสำคัญในการหาคำตอบและค่าที่เหมาะสมที่สุดของปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ การพัฒนาองค์ความรู้ในสองสาขานี้ได้รับความสนใจจากนักคณิตศาสตร์ทั่วโลก และมีพัฒนาการและความก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง องค์ความรู้ที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า วิจัย เป็นประโยชน์อย่างมากต่อการพัฒนาและแก้ปัญหาต่าง ๆ เป็นพื้นฐานและหลักการในการพัฒนาความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาดังกล่าว และสามารถประยุกต์สำหรับการแก้ปัญหาในสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ โดยในการประชุมได้มีการให้ความรู้ และรายงานความก้าวหน้าในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย ดังหัวข้อต่อไปนี้ 1. A Change of scale formula for Wiener Integrals about the first variation on the product abstract Wiener space. By Prof. Dr. Young Sik Kim. 2. Traffic signal control methods. By Assoc. Prof. Dr. Narin Petrot. 3. Splitting algorithms for solving convex minimization problems. By Assoc. Dr. Prasit Cholamjiak. 4. Large scale twin parametric support vector machine using generalized pinball loss function. By Assoc. Prof. Dr. Rabian Wangkeeree. 5. Matrix transformation and fixed point algorithms. By Assoc. Prof. Dr. Satit Saejung. 6. KMUTT fixed point research laboratory and recent researches. By Prof Dr. Poom Kumam. การนำไปใช้ประโยชน์ 1. ได้ทราบถึงแนวทางการพัฒนางานวิชาการทางด้าน Fixed Point Theory and Optimization 2. ได้ทราบวิธีการนำงานทางวิชาการทางด้าน Fixed Point Theory and Optimization มาประยุกต์ใช้สำหรับการแก้ปัญหาในสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการหาคำตอบและค่าที่เหมาะสมที่สุดของปัญหาต่าง ๆ ทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ 3. ได้เห็นความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างต่อเนื่องของแต่ละสถาบันทางด้าน Fixed Point Theory and Optimization ลงชื่อ ............................................................ ( รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์ เทียนชัย ) …………/……………../…………….. ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชาขั้นต้น (ประธานหลักสูตร/เลขานุการคณะ/หัวหน้างาน) .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ............................................................ ( ผู้ช่วยศาสตราจารย์จินตนา จูมวงษ์ ) …………/……………../…………….. ความคิดเห็นของคณบดีคณะวิทยาศาสตร์หรือผู้แทน .............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ลงชื่อ ............................................................ ( ) …………/……………../……………..
- ยังไม่มีรายการคำถาม