รายงานสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ โครงการการบรรยายพิเศษ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4
วันที่เขียน 16/4/2566 19:37:14     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/4/2567 22:21:07
เปิดอ่าน: 271 ครั้ง

                    ตามบันทึกข้อความทาง http://erp.mju.ac.th ลงวันที่ 27 มกราคม 2566 ได้อนุญาตให้ข้าพเจ้าเข้าร่วมโครงการการบรรยายพิเศษ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 - Teaching and Learning Approach ในหัวข้อบรรยาย "การจัดการเรียนการสอนเพื่อปลูกฝังผู้เรียน มีความคิดใหม่ ความคิดสร้างสรรค์ การคิดค้นนวัตกรรม" เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2566 ณ ห้องประชุมฯ 2 อาคารจุฬาภรณ์ฯ คณะวิทยาศาสตร์ ไปแล้วนั้น

 

                    บัดนี้ ข้าพเจ้าได้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ ฯ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ดังนั้นจึงขอรายงานสรุปเนื้อหาและประโยชน์ที่ได้รับ ดังนี้

  1. สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการเข้าประชุม/อบรม ฯลฯ

โครงการการบรรยายพิเศษ การออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4; Criterion 3 ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร คณาจารย์ที่สนใจ ได้เข้าใจการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4 ในส่วน Requirements 3.5. The teaching and learning activities are shown to inculcate in students, new ideas, creative thought, innovation, and an entrepreneurial mindset.

โครงการบรรยายพิเศษ ฯ ครั้งนี้ ได้รับเกรียติจากรองศาสตราจารย์ ดร.เกียรติสุดา ศรีสุข คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวิทยากรหลัก และดร.สุรศักดิ์ เมาเทือก คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เป็นวิทยากรผู้ช่วย การประชุมในครั้งนี้ ได้มีประเด็นการอภิปรายวิธีการสอน (Teaching Methods) ต่าง ๆ เกี่ยวกับ การเรียนที่น่าเบื่อหน่าย การเรียนที่สนุกสุด ๆ การกระตุ้นผู้เรียนให้คิดเชิงสร้างสรรค์/คิดเชิงนวัตกรรม บทบาท/ลักษณะผู้สอน การออกแบบการสอน/สภาพแวดล้อม ในการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4 ในด้านต่าง ๆ ต่อไปนี้

  1. Lecture
  2. Demonstration
  3. Experiment
  4. Deduction/Induction
  5. Field Trip
  6. Small Group Discussion
  7. Role Playing
  8. Dramatization
  9. Simulation
  10. Cooperative Learning
  11. Work-Integrated Learning
  12. Phenomenon-Based Learning
  13. Problem-Based Learning
  14. ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่
  15. ได้เข้าใจการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4
  16. ได้พบปะและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ประสบการณ์ ในการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอน จากคณาจารย์ในหลาย ๆ สาขาวิชา
  17. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)
  18. ได้ให้คณะกรรมการหลักสูตร ได้เข้าใจการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์ AUN-QA V.4
  19. ได้มีการออกแบบการจัดการ การออกแบบการจัดการเรียนการสอนร่วมกัน ในแต่ละสาขา

 

พร้อมนี้ได้แนบหลักฐานการเข้าร่วมประชุม ฯ จากการเข้าประชุม/อบรมฯลฯ มาพร้อมนี้แล้ว จำนวน 1 แผ่น/ชุด

 

                    จึงเรียนมาเพื่อโปรดทราบ

 

 
   

 

 

 

( รองศาสตราจารย์พัฒนพงศ์  เทียนชัย )

9 กุมภาพันธ์ 2566

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1343
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
ผลงานวิจัย » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการฯ
ในการเขียนบทความ ควรเริ่มจากการทำแผนที่บทความเพื่อแบ่งสัดส่วนของหัวข้อของบทความข้างต้นตามเกณฑ์วารสารที่กำหนดจะทำให้การเขียนง่ายขึ้น สามารถใช้ ChatGPT ช่วยในการเขียนตามหัวข้อที่กำหนดได้ง่ายขึ้น
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   การศึกษา การเรียนการสอน
ผู้เขียน หนึ่งหทัย ชัยอาภร  วันที่เขียน 4/3/2567 10:46:23  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/4/2567 7:04:15   เปิดอ่าน 110  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผลงานวิจัย » จริยธรรมในการวิจัย
หลักจริยธรรมการวิจัย โดยให้ความสำคัญกับการได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นหน่วยวิเคราะห์ เช่น คน มนุษย์ สัตว์ ซึ่งการวิจัยในมนุษย์นั้น จะเน้นที่ The Belmont Report ส่วนนิยาม จรรยาบรรณ สำนักการวิจัยแห่งชาติ ไ...
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   การศึกษา การเรียนการสอน
ผู้เขียน หนึ่งหทัย ชัยอาภร  วันที่เขียน 20/2/2566 14:13:37  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/4/2567 21:33:51   เปิดอ่าน 767  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง