แนวทางการพัฒนาศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศสู่สำนักงานสีเขียว
วันที่เขียน 6/4/2559 15:27:47     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 20:54:42
เปิดอ่าน: 3967 ครั้ง

จากการเข้าร่วมโครงการฝึกอบรมสำนักงานสีเขียว หัวข้อ แนวทางการพัฒนาสำนักงานสู่สำนักงานสีเขียว เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 ณ คณะเศรษฐศาสตร์ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งได้ตระหนักถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม จึงมีแนวคิดที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการในครั้งนี้ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรม 7 หมวด ตามแนวปฏิบัติของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2559 คณะเศรษฐศาสตร์ ซึ่งได้รับรางวัลสำนักงานสีเขียวระดับยอดเยี่ยม ในปี 2558 ได้จัดโครงการฝึกอบรมสำนักงานสีเขียว ในหัวข้อ แนวทางการพัฒนาสำนักงานสู่สำนักงานสีเขียว ขึ้น โดยมี รศ. สยาม อรุณศรีมรกต จากมหาวิทยาลัยมหิดล เป็นวิทยากร แนะแนวทางสู่การเป็น Green Office ซึ่งจะประกอบด้วยการดำเนินกิจกรรม 7 หมวด ตามแนวปฏิบัติของกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมแนะนำ มีดังนี้ 

หมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร (Organization Management)

1.1 การกำหนดนโยบายสิ่งแวดล้อม

1.2 การวางแผนการดำเนินงาน

1.3 การทบทวนระบบการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมโดยฝ่ายบริหาร

หมวดที่ 2 การดำเนินงาน Green Office (Operation of Green Office)

2.1 การสื่อสาร การฝึกอบรม

2.2 การจัดประชุมและนิทรรศการ

2.3 ความสะอาดและความเป็นระเบียบในสำนักงาน

2.4 การจำกัดก๊าซเรือนกระจก

2.5 การขนส่งและการเดินทาง

หมวดที่ 3 การใช้พลังงานและทรัพยากร (Energy and Resource Utilization)

3.1 การใช้พลังงาน

3.2 การใช้น้ำ

3.3 ทรัพยากรอื่นๆ

หมวดที่ 4 การจัดการของเสีย (Office Waste Management)

4.1 การจำกัดของเสียในสำนักงาน

4.2 การจำกัดน้ำเสียในสำนักงาน

หมวดที่ 5 สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกสำนักงาน (Indoor & Outdoor Environment)          

5.1 อากาศในสำนักงาน

5.2 แสงในสำนักงาน

5.3 เสียง

5.4 ความน่าอยู่

หมวดที่ 6 การจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์และการจัดจ้างในสำนักงาน (Green Procurement)  

6.1 การจัดซื้ออุปกรณ์ และการจัดจ้างในสำนักงาน

หมวดที่ 7 การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continual Improvement)                                                                   7.1 โครงการและกิจกรรม   

 

ดาว์นโหลด คู่มือ Green Office ได้ที่นี่

ขั้นตอนการปฏิบัติ ในหมวดที่ 1 การบริหารจัดการองค์กร

การเป็นสำนักงานสีเขียว โดยเริ่มจากการปรับเปลี่ยพฤติกรรมคนในองค์กร

กิจกรรมแนะนำที่สามารถปฏิบัติได้ ได้แก่

  1. จัดทำแผนปฏิบัติการกรณีฉุกเฉิน
  2. Spot รณรงค์ Green Office
  3. จัดทำขั้นตอนการขอ VDO Conference เพื่อประหยัดค่าเดินทางเข้าร่วมประชุมต่างๆ ระหว่างวิทยาเขต
  4. การจัดกิจกรรม 5ส
  5. การจัดทำงานวิจัยในลักษณะ R2R เพื่อปรับปรุงพัฒนางานประจำให้เป็นงานวิจัยสู่สำนักงานสีเขียว
  6. การให้บริการรถรางเพื่อรับส่งนักศึกษา/บุคลากร ระหว่างที่จอดรถ และอาคาร
  7. การเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  8. การบำรุงรักษาเครื่่องปรับอากาศ เครื่องพิมพ์ 
  9. การปลูกต้นไม้ ที่มีคุณลักษณะ 5ด คือ ดม ดูด ดื่ม แดก ดู ได้

ถอดบทเรียนโดย นางสาวณัฐกฤตา โกมลนาค

ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=510
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:52   เปิดอ่าน 101  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:41   เปิดอ่าน 250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:22   เปิดอ่าน 98  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง