ถอดบทเรียนการอบรมออนไลน์ Open Data กับการศึกษายุคดิจิทัล
วันที่เขียน 2/8/2567 14:28:01     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/9/2567 10:39:33
เปิดอ่าน: 175 ครั้ง

การอบรมออนไลน์ "Open Data กับการศึกษายุคดิจิทัล" ในวันที่ 7 และ 14 มิถุนายน 2567 เวลา 13.00-16.00 น. สรุปความรู้ที่ได้รับ "วิธีการจัดทำข้อมูลเปิดอย่างเป็นระบบ" และ "การสร้างนิเวศสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล" โดยใช้แนวคิดงานสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture – EA) สู่การเตรียมความพร้อมระบบข้อมูลเปิดภาคการศึกษา 3 Keywords – Open DATA, Enterprise Architecture (EA) , EA x OpenData ใช้โปรแกรม https://floward-demo2.backyard.in.th/ ในการสร้าง Blueprint

การอบรมออนไลน์ "Open Data กับการศึกษายุคดิจิทัล"

ในวันที่ 7 และ 14 มิถุนายน 2567 เวลา 13.00-16.00 น.

สรุปความรู้ที่ได้รับ วันที่ 7 มิถุนายน 2567 วิธีการจัดทำข้อมูลเปิดอย่างเป็นระบบ

จัดทำพิมพ์เขียวของมหาวิทยาลัย จัดกลุ่มเป็น 7 กลุ่ม โดยสามารถ Generated โดยใช้ AI ได้ แต่ต้องพิจารณาข้อมูลว่าเป็นข้อมูลที่เรามีหรือไม่

  • โดยแต่ละข้อมูล สามารถสร้าง Data Worksheet (DT) กำหนดเป้าหมาย คน งาน ระยะเวลา
  • กำหนดการติดตาม Strategic Roadmap (SR) ของงานได้
  • แสดงเป็น Dashboard รายงานความก้าวหน้า สำหรับข้อมูลแต่ละกลุ่มได้
  • ยังต้องเลือกว่าข้อมูลไหน แชร์ได้ จำเป็นต้องทำเป็น Open Data หรือไม่ โดยอาจมองเป็น function หรือเชิงพื้นที่ในการเผยแพร่ข้อมูล ระบุระยะเวลาข้อมูล expire date
  • ต้องมีการกำหนดนิยามข้อมูลและคำอธิบายข้อมูลด้วย

สรุปความรู้ที่ได้รับ วันที่ 14 มิถุนายน 2567 การสร้างนิเวศสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล

  • การจัดส่งข้อมูลให้กระทรวง 18 ข้อมูล พิจารณา คุณภาพข้อมูล, การรักษาความปลอดภัย, การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล, การเปิดเผยข้อมูลเปิด , มาตรฐานการแลกเปลี่ยนข้อมูล, นโยบายการใช้ข้อมูล
  • เผยแพร่ข้อมูล ข้อมูลภายในมหาวิทยาลัย  Unicon (https://unicon.mhesi.go.th/) è MHESI Open Data (https://data.mhesi.go.th) è ภายนอกมหาวิทยาลัย (ภาคประชาชนและสังคม เอกชน อุตสาหกรรม ภาครัฐ) by ธนิตสรณ์ จิระพรชัย
  • ศ.ดร.นพ. ศิริเกษม ศิริลักษณ์ การสร้างนิเวศสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยดิจิทัล ให้แค่คิดการมีส่วนร่วม ทั้งบัณฑิต นักศึกษา ผู้บริหารหลักสูตร ผู้นำ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายการท่องเที่ยว ในแวดวงที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ที่มีมุมมองที่กว้างขึ้น สู่การทำ branding ที่ชัดเจน
  • ผศ.ดร.ก่อพร พันธุ์ยิ้ม ให้แนวคิดงานสถาปัตยกรรมองค์กร (Enterprise Architecture – EA) สู่การเตรียมความพร้อมระบบข้อมูลเปิดภาคการศึกษา 3 Keywords – Open DATA, Enterprise Architecture (EA) , EA x OpenData ใช้โปรแกรม https://floward-demobackyard.in.th/ สรง Blueprint

 

อ่านเพิ่มเติม ถอดบทเรียนการอบรมออนไลน์ Open Data กับการศึกษายุคดิจิทัล 

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/9/2567 8:22:25   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 10/9/2567 6:54:13   เปิดอ่าน 79  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 8/9/2567 16:03:14   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » คุณธรรมจริยธรรมในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัย (2)
จรรยาบรรณและจริยธรรม ในการทำงานเกี่ยวกับเทคโนโลยีในมหาวิทยาลัยเกี่ยวข้องกับแนวทางเพื่อให้การใช้เทคโนโลยีในงานวิจัย การสอน และการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมีความรับผิดชอบและถูกต้องตามหลักจริยธรรม
การเข้าถึงและการรวมกลุ่ม  ความโปร่งใสและความรับผิดชอบ  จรรยาบรรณและจริยธรรม  เทคโนโลยี  แนวทางวิจัยที่มีจริยธรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 1/9/2567 12:56:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 9/9/2567 7:14:06   เปิดอ่าน 29  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง