สรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการเจ้าร่วมฝึกอบรมดังต่อไปนี้
ได้นำความรู้ในการฝึกอบรมมาปรับปรุงกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชา ทส215 การโปรแกรมฝั่งไคลเอนต์ เพื่อให้เกิดผลการเรียนรู้และการประเมินผู้เรียน ผลการเรียน มคอ.5 ภาคเรียนที่ 2/2564
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ Online การพัฒนาคณาจารย์ให้มีการสอนที่สร้างทักษะ 4C สอดแทรกในรายวิชา รุ่นที่ 2 เรื่อง “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills)”
โดย นายพชร ชมภูมิ่ง สุขตะ บริษัท อะบัสโบโต เอดูเคชันแนล เซอร์วิส เซนเตอร์ จำกัด
- ทักษะชีวิตและการทำงาน (Life & Career Skills)
- ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning & Innovation Skills)
- ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี (Information, Media and Technology
Skills)
บรรยาย เรื่อง “ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning & Innovation Skills : 4Cs)”
- Critical Thinking
- Collaboration
- Communication
- Creativity
บรรยาย เรื่อง “3 หัวใจสำคัญของการออกแบบการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะการเรียนรู้และ
นวัตกรรม (4Cs)”
- Introduction & Mindset
- Coaching & Facilitation Skills
- Integration
แบ่งกลุ่มย่อย เรื่อง “ Introduction & Mindset” ออกเป็น 8 กลุ่มๆละ 5 คน โดย
แบ่งกลุ่มย่อย เรื่อง “ Introduction & Mindset” ออกเป็น 8 กลุ่มๆละ 5 คน โดย
บรรยาย เรื่อง “Coaching & Facilitation Skills เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโค้ช และผู้อำนวยการเรียนรู้”
กลุ่มนำเสนอตามหัวข้อที่มอบหมาย “Coaching & Facilitation Skills เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบโค้ชและผู้อำนวยการเรียนรู้”
เนื้อหาที่ได้เรียนรู้
เปรียบเทียบการเรียนรู้แบบเก่า กับ การเรียนรู้แบบใหม่
Old Learning แบบเก่า
- - ครูเป็นศูนย์กลางเรียนรู้
- - ครูเน้นสอนตามหลักสูตรตำรา
- - ครูสอนคนเดียว
- - ครูบอกความรู้แก้ผู้เรียน บอกขั้นตอนทั้งหมด
- - การสอนเน้นความรู้ในวิชา
New Learning แบบใหม่
- - ครูเป็นผู้อำนวยการ/สนับสนุนการเรียนรู้
- - ครูเน้นการออกแบบการเรียนรู้ร่วมกัน
- - ครูสอนเป็นทีม บูรณาการวิชา
- - ครูสร้างบรรยากาศให้เกิด Learning Experience
- - การสอนเน้นการประเมินทักษะผู้เรียน
Key learning ที่ได้
- หน้าที่เราไม่เพียงแค่ ครูแต่เป็น Facilitator ด้วยจึงจะสมบูรณ์ในการดูแลสอนนักศึกษา
- กระตุ้น สร้างแรงบันดานใจ ภาษากายที่ส่งออกมาหน้าตากายน้ำเสียงไปยังผู้เรียน มีผลกับการอยากรับของผู้รับได้ ในมุมมองที่เป็นบวกหรือลบ หากเราไปในทัศนคติที่ลบ ผู้รับอาจจะไม่อยากรับในสิ่งที่เราให้
- ผู้เรียนผู้สอน มองในฐานะผู้สอน ผู้เรียนเราไม่ได้นึกถึง
เครื่องมือสำหรับโค้ดและ Facilitator
- Self-Transformation เริ่มจากการเปลี่ยนแปลงตัวเองก่อน
- Mindset ปรับหลักคิดของ Coach และ Facilitator ก่อน อะไรที่เราควบคุมไม่ได้เลย การปรับแนวคิดที่ที่จะนำพาไปสู่ทางออกที่ดีได้
- Rapport การสร้างสัมพันธ์เชิงลึก สำคัญ การจัดการเรียนรู้ระหว่างเรากับผู้เรียน หากยังไม่สามารถ connect สัมพันธ์เชิงลึกได้ยากที่จะไปต่อได้หรือฟังเขาน้อยฟังเราน้อยนั่นเอง
- Listening การฟังอย่างมีคุณภาพ
- Ask การถาม คำถาม เป็นส่วนปลายที่ใช้น้อยสุด แต่ทรงคุณภาพมากที่สุด คนถามมีการฟังที่ดีพอแล้วหรือยัง จะไม่สามารถเกิดขึ้นได้หาเรายังไม่สามารถสร้างสัมพันธ์เชิงลึกขึ้นมาได้ กับนักเรียนของเรา
การตั้งอยู่ใน mindset ที่ไม่ถูกต้องจะทำให้เป้ หรือไม่ถูกทางในเลนส์ของเรามากกว่าของเขานั้นเอง จะปิดการสื่อสารที่ดี มีอะไรบ้างที่เราจะพอขัดเกลาได้อีก ให้ดีขึ้น
- Growth mindset แนวคิดที่พร้อมจะเติบโต ต้องทำให้เขามีในส่วนนี้ให้ได้ก่อน
- ถ้าแง่คิดในแง่นั้นพาเราไปแง่ Growth คือพาเราไปในแง่ Gola เป้าหมาย เข้าถึงเป้าได้
- Fixed mindset การกำหนดแนวคิด ให้เขาเข้าใจแล้วนำไปปรับใช้
- คนหลายๆ คนมักจะเทแนวคิดไปทาง Fixed mindset เสียมากกว่า
Workshop : พูดถึงความรู้สึกที่สื่อสาร
- ในระหว่างเห็นเพื่อน ๆ ทำท่า แล้วเราค่อยทำตาม แล้วพิมพ์ออกมาเป็นคำตอบ อยากรู้ว่าเราเห็นอะไร จากการเรียนแบบแล้วการเดา = การเอาภาษากายเหนี่ยวนำความรู้สึก ทำให้เราช้าลงไม่ตัดสินใจเขาในอย่างรวดเร็วเกินไป เช่น ตราบใดที่เรายังไม่ใส่รองเท้าคู่เดียวกับเค้ายากมากจะรู้สึก สังเกตความรู้สึกสะท้อน โดยเอาใจเข้าไปจับ
การสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด Rapport แรมพอท ใครสักคนดีพอแล้วหรือยัง
- ก่อนจะพูดคุยกับใคร เราต้องปรับภาษากาย การแต่งกายให้เข้ากับเขาให้ได้ก่อน
- ปรับโทนเสียงให้เข้ากับเขาก่อน แล้วมาจากความรู้สึกของเราจริงๆ ก่อน
ทริกการ Rapport
- Build ก่อนจะเริ่มต้นพูดถึง Content อย่าลืมสร้างให้รู้สึกว่าพื้นที่ตรงนี้มันปลอดภัย ให้เขารู้สึกว่าปลอดภัยอยากพูดคุยกับเรา รู้สึกว่าเราปลอดภัย ถ้าไม่ติดให้ Break หยุดก่อน ค่อยใส่เนื้อหา แล้ววนวงจรแบบนี้ไปเรื่อย ๆ
- Matching ทำเหมือนกัน ทำท่าเดียวกันกับเขา
- Mirroring กระจกสะท้อน เปลี่ยนท่าทำตามเขาเลยโดยเว้นระยะเวลาการทำก่อน
เอาสิ่งที่ได้ไปปรับใช้หน้างานการสอน กับห้องเรียนทักษะ 4C
- สร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกับเด็กก่อน
- สร้างความเข้าใกล้ชิด
- การสร้างการกระตุ้นการเปิดรับของเด็ก สุดท้าย เด็กไม่มีโง่หรือฉลาด
- ทำความเข้าใจความต้องการของเด็ก เด็กแต่ละคนมีความต้องการอะไรที่แตกต่างกัน
- สิ่งที่เด็กสนใจอะไร มีความสนใจอะไร เอาจุดนั้นมาเป็นพลังในการพลักดัน
- ถามตัวเองว่ามาเป็นครูอาจารย์เพื่ออะไร หากครูไม่สนใจเด็ก เด็กเกิดปัญหาไม่เหลืออะไร เราต้องเป็นคนดูแลเขา
Commit ขั้นตอน
- ขั้นเปิด
- ขั้นสอน
- ขั้นสรุป
- ชื่นชม
- โมติเวชัน
- Feedback
มีความรู้ความเข้าใจที่เพิ่มขึ้น หลังจากอบรมเสร็จแล้ว เกี่ยวกับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในส่วนของทักษะแห่งการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม (4C) : Critical thinking, Creativity, Communication และ collaboration * ตั้งแต่อบรมกับ 6C