อาหารพื้นบ้านของชาวล้านนา
วันที่เขียน 11/10/2562 10:31:57     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:35:07
เปิดอ่าน: 5848 ครั้ง

ภาคเหนือหรืออาณาจักรล้านนาในอดีต เป็นดินแดนแห่งหนึ่งที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาแต่อดีตจวบจน ปัจจุบัน มีผู้คนอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานในดินแดนแห่งนี้จากหลาย ๆ แหล่ง ทำให้ได้รับวัฒนธรรมหลากหลาย จากชนชาติต่าง ๆ เข้ามาในชีวิตประจำวัน รวมถึงประเภทอาหารและการบริโภคอาหาร ประกอบกับลักษณะ ภูมิประเทศที่มีเทือกเขาน้อยใหญ่ และมีแหล่งต้นน้ำหลายสาย ทำให้อากาศค่อนข้างหนาวเย็นในฤดูหนาว และฤดูฝน ส่งผลให้มีพืชพันธุ์ธัญญาหารมากมายโดยเฉพาะผักพื้นบ้าน ชาวล้านนา (คนที่อาศัยในภาคเหนือ) ได้สรรค์สร้างอาหารที่มีหลากหลายประเภทหรือตำหรับที่มีเสน่ห์ และมีเอกลักษณ์รสชาติเป็นของตนเอง การปรุงอาหารของชาวล้านนาส่วนใหญ่จะมีทั้งรสอ่อน เผ็ด เค็ม เปรี้ยว แต่ไม่หวาน อาหารภาคเหนือไม่นิยมใส่ น้ำตาล ความหวานจะได้จากวัตถุดิบส่วนผสมที่นำมาประกอบอาหาร เช่น ความหวานจากผัก และปลา เป็นต้น

 

อ่านต่อคลิกที่นี่  วารสารแม่โจ้ปริทัศน์ ปีที่ 19 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนตุลาคม-ธันวาคม 2561 

http://www.erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=MzU0NTA0&method=inline

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=1070
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : ภาษา วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
การบริการวิชาการสู่ชุมชนด้านการทำนุบำรุงมรดกทางวัฒนธรรม » ช่อฟ้าแบบลำปาง
รูปแบบช่อฟ้ากลุ่มลำปางอันเป็นอัตลักษณ์เชิงช่าง ก็ต้องกล่าวถึงช่อฟ้าเซรามิกประดับวิหารวัดพระธาตุเสด็จ ที่เป็นช่อฟ้าเซรามิกรูปทรงเป็นพญานาค ที่ระบุว่าสร้างในปี จ.ศ. 1008 หรือ พ.ศ. 2189 ปัจจุบันจัดแส...
ช่อฟ้าลำปาง     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ภาษา วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 26/8/2564 13:42:04  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 13:16:10   เปิดอ่าน 1922  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การบริการวิชาการสู่ชุมชนด้านการทำนุบำรุงมรดกทางวัฒนธรรม » วัดร้างแสนขานกับจิตรกรรมเขียนสีกลางกรุ อายุ 600 ปี ค้นพบใหม่อีกแห่งในล้านนา
เจดีย์วัดร้างแสนขาน ตั้งอยู่บนถนนมณีนพรัตน์ ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ไม่ปรากฏชื่อวัดแสนขาน ในเอกสารตำนานพงศาวดาร แต่สันนิษฐานว่าอาจจะเป็นวัดที่ปรากฏชื่อในพงศาวดารโยนกว่า “...พญา...
จิตรกรรมวัดร้างแสนขาน, จิตรกรรมล้านนา 600 ปี     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ภาษา วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 5/9/2563 22:20:19  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:34:21   เปิดอ่าน 2634  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง