เลือกเครื่องปรับอากาศแบบใดให้ประหยัดพลังงานในหน่วยงานและที่อยู่อาศัย
วันที่เขียน 9/3/2561 21:31:47     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 21:30:10
เปิดอ่าน: 6334 ครั้ง

ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม

เลือกขนาดเครื่องปรับอากาศให้เหมาะกับการใช้งานแต่ละห้อง

สำหรับการเลือกซื้อแอร์นั้น อีกสิ่งที่ต้องคำนึงถึงก็คือ ขนาดของห้อง  เพราะเมื่อเราทราบขนาดของห้องที่ชัดเจน จะทำให้ง่ายต่อการเลือกขนาดของแอร์ และ การคิดค่า BTU  เพื่อให้เหมาะกับการใช้งานและช่วยประหยัดพลังงาน

 BTU  คือ ขนาดทำความเย็นของเครื่องปรับอากาศ  โดยย่อมาจากคำว่า British Thermal Unit   ซึ่ง  1 ตันความเย็น จะเท่ากับ 12000 BTU ต่อชั่วโมง  ฉะนั้นการเลือก BTU ย่อมมีความสำคัญ เพราะจะเกี่ยวเนื่องกับการประหยัดพลังและอายุการใช้งานของแอร์

 แอร์ที่มี BTU สูงเกินไปนั้น จะทำให้การทำงานของคอมเพรสเซอร์ตัดบ่อย เนื่องจากมีการทำความเย็นได้อย่างรวดเร็ว จึงทำให้ประสิทธื์ภายในการทำงานลดน้อยลง  และยังส่งผลให้มีความชื้นภายในห้องสูง อาจทำให้ผู้ที่อยู่อาศัยป่วยหรือไม่สบายได้ อีกทั้งยังทำให้เปลืองพลังงาน

 แอร์ที่มี BTU ต่ำเกินไปนั้น ก็จะทำให้คอมเพรสเซอร์ทำงานตลอดเวลาและหนักจนเกินไป  เพราะอุณหภูมิความเย็นไม่ตรงตามที่ตั้งหรือกำหนดไว้  ซึ่งจะส่งผลทำให้แอร์เสียได้ง่าย และ เปลืองพลังงาน

 โดยการเลือกขนาด BTU ให้เหมาะกับการใช้งานแต่ละห้องนั้น 

                         

เลือกแบบประหยัดพลังงาน

ความแตกต่างระหว่างเครื่องปรับอากาศแบบปกติ กับแบบ
Inverter


แบบปกติทั่วไป
                                            แบบ Inverter
- คอมเพรสเซอร์จะตัดเมื่อถึงอุณหภูมิที่ตั้งไว้         - เย็นเร็ว โดยการเร่งรอบการทำงานคอมเพรสเซอร์
- มีการกระชากไฟ เมื่อเริ่มทำงานอีกครั้ง              - ลดการตัดต่อการทำงานด้วยวิธีการลดความเร็วรอบคอมเพรสเซอร์
- อุณหภูมิไม่สม่ำเสมอ                                  - อุณหภูมิสม่ำเสมอ
                                                              
- ประหยัดพลังงาน 20-40%    
                                                            - ความทนทานสูง เพราะมีระบบป้องกันใส่ในDriver     

ขั้นตอนที่สำคัญในการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ
1.การทำสุญญากาศระบบ (Vacuum) 
   เพื่อดูดอากาศและความชื้นออกจากระบบปรับอากาศและสร้างพื้นที่ว่างสำหรับเติมสารทำความเย็น
2.การตรวจสอบการรั่วของระบบปรับอากาศ
   โดยสังเกตจากการทำแวคคั่ม ถ้าใช้เวลานานแล้วแต่ความดันไม่สามารถลดลงไปอยู่ที่ 30 นิ้ว
   แวคคั่มได้ แสดงว่าระบบรั่ว
3.การเติมสารทำความเย็นเข้าในระบบ
   ควรคำนึงถึงน้ำหนักของน้ำยาที่จะบรรจุ ค่ากระแสที่จ่ายเข้าคอนเดนเซอร์

วิธีการตรวจสอบคอมเพรสเซอร์(เคลม)

1.ตรวจสอบสภาพคอมเพรสเซอร์
          - ตรวจสภาพภายนอก
          - น้ำหนักคอมเพรสเซอร์
          - ค่าความต้านทานมอเตอร์
          - ค่าความเป็นฉนวน
2.ตรวจสอบด้ายการ Run ตัวเปล่า
          - การดูด/อัด
          - กระแสไฟ
          - ระดับเสียง
3.ตรวจสอบด้วยการ Run เข้าระบบน้ำยา
          - ค่ากระแสไฟ
          - ระดับเสียง
          - ความสามารถทำ Condition 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=773
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม » รู้หรือไม่ สายfiber optic สามารถย่อโลกให้เล็กลงได้
สายfiber optic หรือ สายใยแก้วนําแสง คือ สายสัญญาณชนิดหนึ่งที่ผลิตมาจากแก้ว หุ้มด้วยใยพิเศษเพื่อป้องกันการกระแทก โดยการส่งข้อมูลของเส้นใยแก้วนำแสง นั้นจะทำงานจาก การแปลงสัญญาณข้อมูลไฟฟ้าจากอุปกรณ์ต...
Fiber Optic Cable  ไฟเบอร์ออฟติก  สายใยแก้วนําแสง     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน ประทีป สุขสมัย  วันที่เขียน 6/9/2567 16:49:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:49:57   เปิดอ่าน 92  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การศึกษาดูงานบริการการศึกษา ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย » KM งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ จากการเข้าศึกษาดูงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที่ 1 พฤษภาคม 2567 และมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย วันที่ 3 พฤษภาคม 2567
งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มีแผนการพัฒนางานประจำเพื่อนำความรู้ที่ได้มาปรับปรุงงานประจำ หรือพัฒนาให้เกิดนวัตกรรมของงาน จึงได้วางแผนตั้งแต่การขออนุมัติเข้าร่วมอบรม การพัฒนางาน...
KM, งานบริการการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน กฤตาณัฐ ศรีประภา  วันที่เขียน 30/8/2567 14:58:46  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:04:23   เปิดอ่าน 142  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
อบรมการพัฒนาตนเองด้านความรู้ ทักษะและพฤติกรรม ปี 2567 » กระบวนการพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการนั้นเป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลาและความพยายาม รวมถึงการมีส่วนร่วมจากพนักงานทุกระดับในองค์กร การนำเทคโนโลยีและการปรับปรุงกระบวนการมาใช้ จะช่วยให้องค์กรสามารถสร้...
การพัฒนา งานประจำ นวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน ภาวิณี จีปูคำ  วันที่เขียน 27/6/2567 14:10:39  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:43:07   เปิดอ่าน 233  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง