พิมพ์เอกสารใน google docs ด้วยเสียง
วันที่เขียน 3/3/2559 14:36:52     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 17:44:59
เปิดอ่าน: 3974 ครั้ง

ผู้ที่มี notebook, smartphone หรือเครื่อง desktop ที่เชื่อมต่อกับไมค์ สามารถพิมพ์เอกสาร ด้วยการพูดแทนการพิมพ์บนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว

พิมพ์เอกสารใน google docs ด้วยเสียง

ผู้ที่มี notebook, smartphone หรือเครื่อง desktop ที่เชื่อมต่อกับไมค์ สามารถพิมพ์เอกสารด้วยการพูดแทนการพิมพ์บนคอมพิวเตอร์ได้แล้ว โดยเข้าเว็บ docs.google.com จากนั้นทำการ login เข้าสู่ระบบ จากนั้นสร้างเอกสารใหม่หรือเปิดเอกสารเดิมเพื่อแก้ไขเพิ่มเติม

 

 

ากนั้นกดที่เมนู "เครื่องมือ" แล้วกดที่ "พิมพ์ด้วยเสียง"

 

 

จะปรากฏเมนูรูปไมค์สีเทา ให้กดตรงรูปไมค์ได้เลย

 

ล้วจะเปลี่ยนเป็นสีแดงก็สามารถพูดเพื่อให้ google docs พิมพ์เอกสารให้ได้แล้ว จากการทดลองสามารถพิมพ์ได้ทั้งภาษาไทยและอังกฤษซึ่งแม่นยำพอสมควร

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=459
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:52   เปิดอ่าน 101  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:41   เปิดอ่าน 250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:22   เปิดอ่าน 98  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง