ข้อกำหนดมา๖ราฐาน BRC Food Issue 7
วันที่เขียน 5/2/2559 11:42:56     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 11:14:23
เปิดอ่าน: 11965 ครั้ง

ได้รับฟังบรรยายและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการจากคุณธรรมรัตน์ รุ่งสังข์ ในหัวข้อ ข้อกำหนดและการติดตามภายในตามมาตรฐาน BRC Food Issue 7 เป็นระบบมาตรฐานรับรองสินค้าพื้นฐานสำหรับสุขลักษณะอาหารสำหรับ Brand Owner ที่แสดงว่ามีการควบคุมและรับผิดชอบทางด้านกฎหมายต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และผู้บริโภค และลดการตรวจประเมินซ้ำซ้อน ประกอบไปด้วยข้อกำหนดทั้งหมด 7 ข้อ ดังนี้ 1. ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหารและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Senior Management Commitment and Continual Improvement) 2. การวางแผนจัดการความปลอดภัยอาหาร (The Food Safety Plan-HACCP 3. ความปลอดภัยของอาหารและระบบจัดการคุณภาพ (Food Safety and Quality Management System) 4. มาตรฐานอ้างอิง (Site Standard) 5. การควบคุมผลิตภัณฑ์ (Product Control) 6. การควบคุมกระบวนการ (Process Control) 7. บุคคล (Personnel)

          จากการเข้าอบรมเชิงปฏิบัติการมาตรฐานสากล เรื่อง ข้อกำหนดและการติดตามภายในตามมาตรฐาน BRC Food Issue 7 ณ ห้องคาวบอยเธีย์รเตอร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ วันที่ 30-31 มกราคม 2559 และขอนำเสนอสรุปเนื้อหาและการนำไปใช้ประโยชน์ของการฝึกอบรม ดังต่อไปนี้
     การพัฒนาเกี่ยวกับงานวิจัย 

          ได้รับฟังบรรยายและฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการจากคุณธรรมรัตน์ รุ่งสังข์ ในหัวข้อ ข้อกำหนดและการติดตามภายในตามมาตรฐาน BRC Food Issue 7 เป็นระบบมาตรฐานรับรองสินค้าพื้นฐานสำหรับสุขลักษณะอาหารสำหรับ Brand Owner ที่แสดงว่ามีการควบคุมและรับผิดชอบทางด้านกฎหมายต่อความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์และผู้บริโภค และลดการตรวจประเมินซ้ำซ้อน ประกอบไปด้วยข้อกำหนดทั้งหมด 7 ข้อ ดังนี้

1. ความมุ่งมั่นของฝ่ายบริหารและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Senior Management Commitment and Continual Improvement)

2. การวางแผนจัดการความปลอดภัยอาหาร (The Food Safety Plan-HACCP

3. ความปลอดภัยของอาหารและระบบจัดการคุณภาพ (Food Safety and Quality Management System)

4. มาตรฐานอ้างอิง (Site Standard)

5. การควบคุมผลิตภัณฑ์ (Product Control)

6. การควบคุมกระบวนการ (Process Control)

7. บุคคล (Personnel)

 

          โดยจะเน้นไปเรื่องของการจัดการสารก่อภูมิแพ้ และความเป็นจริงของผลิตภัณฑ์ เพื่อป้องกันสารปลอมปน สามารถศึกษาสารปลอมปนเพิ่มเติมได้จาก

          http://www.foodfraud.org/

          http://www.food.gov.uk/enforcement/foodfraud

          http://www.sfo.gov.uk/fraud

 

          จากการอบรมครั้งนี้ทำให้ได้รับความรู้เรื่องความปลอดภัยในอาหาร และมาตรฐานที่ใช้เพื่อในการวิจัยด้านอาหารปลอดภัย

 

      การพัฒนาการเรียนการสอน

           สามารถนำความรู้ที่ได้จากการอบรมครั้งนี้มาพัฒนาการเรียนการสอนในวิชา ชว 354 การควบคุมคุณภาพทางเทคโนโลยีชีวภาพ วท 497 สหกิจศึกษา และ วท 498 การเรียนรู้อิสระ

 

 

 

 

 

 

 

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=450
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6
การประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (มหาวิทยาลัยแม่โจ้) ครั้งที่ 6 ในวันที่ 27 มีนาคม 2568 ณ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ซึ่งจัดโดยคณะวิทยาศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการประมงแ...
การประชุมวิชาการ  คณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 2/4/2568 23:04:27  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 8:33:46   เปิดอ่าน 15  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์ » การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์
การหาเสถียรภาพ (Stability) ของสมการเชิงอนุพันธ์เป็นกระบวนการที่ใช้ตรวจสอบว่าคำตอบของสมการเชิงอนุพันธ์มีแนวโน้มที่จะคงที่หรือเปลี่ยนแปลงไปเมื่อเวลาผ่านไป โดยทั่วไป การพิจารณาเสถียรภาพขึ้นอยู่กับพฤต...
การหาเสถียรภาพ  สมการเชิงอนุพันธ์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ธวัชชัย เพชรธาราทิพย์  วันที่เขียน 7/3/2568 14:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 3/4/2568 21:03:27   เปิดอ่าน 86  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ รุ่นที่ ๕ : จากหลักการสู่การปฏิบัติ
จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ด้านสังคมและพฤติกรรมศาสตร์ ในทางปฏิบัติมีความจำเป็นจะต้องพิจารณาก่อนที่จะดำเนินการวิจัย โดยยึดหลักตามหลักการของ Belmont Report and Basic Ethical (1978) ประกอบด้วย 3 หลักกา...
จริยธรรมวิจัย  พฤติกรรมศาสตร์  วิจัยในมนุษย์  สังคมศาสตร์     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 26/2/2568 16:09:31  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 4/4/2568 1:48:33   เปิดอ่าน 129  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง