กิจกรรมนักศึกษา กับการใช้เทคโนโลยี สู่วิถีชีวิตในศตวรรษที่ 21
วันที่เขียน 9/9/2562 9:57:41     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/4/2567 16:32:49
เปิดอ่าน: 9464 ครั้ง

โลกในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน หรือกิจกรรมนักศึกษานั้น ถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะและประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนนั้นทำให้นักศึกษามีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็นเครื่องมือฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะ และรู้จักคิด รู้จักวางแผนอย่างเป็นกระบวนการ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ จะเป็นตัวกำหนดการทำงานขององค์กรอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีระยะเวลาที่แน่นอน สามารถวางระบบการทำงานที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ และปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน ฯลฯ

โลกในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน หรือกิจกรรมนักศึกษานั้น ถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะและประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนนั้นทำให้นักศึกษามีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็นเครื่องมือฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะ และรู้จักคิด รู้จักวางแผนอย่างเป็นกระบวนการ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ จะเป็นตัวกำหนดการทำงานขององค์กรอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีระยะเวลาที่แน่นอน สามารถวางระบบการทำงานที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ และปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน ฯลฯ

  การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการเรียนรู้นอกห้องเรียน ของนักศึกษา นับเป็นสิ่งที่ทำให้นักศึกษา เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงเข้าแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองและตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น การใช้เทคโนโลยีในการประชุมสโมสรนักศึกษา, การใช้เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา, การใช้เทคโนโลยีจัดเก็บและบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา เป็นต้น ซึ่งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา นับได้ว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักศึกษา อันจะนำไปสู่การเป็นบัณฑิตในยุคศตวรรษที่ 21 อย่างมีคุณภาพ

  การใช้เทคโนโลยี เป็นหนึ่งในทักษะที่ตลาดแรงงานต้องการมากที่สุดเห็นได้จากข้อความประกาศรับสมัครพนักงานของบริษัทต่าง ๆ ในเว็บไซต์หางาน จะเน้นคุณสมบัติด้านนี้เป็นหลัก เนื่องด้วยเทคโนโลยี ถูกนำมาใช้ในบริษัท เพื่อช่วยให้การทำงาน คล่องตัวและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ข้อมูลจากบริษัท จัดหางาน จ๊อบส์ ดีบี ประเทศไทย จำกัด ระบุ 10 ทักษะที่ตลาดแรงงานต้องการในปี 2020 อันดับแรก คือ ต้องเป็นคนทันโลก ทันเหตุการณ์ พนักงานทุกอาชีพต้องอัพเดทข้อมูลข่าวสาร เพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลง สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ต่องาน มีทักษะด้านภาษา มีการสื่อสารและการจัดการข้อมูลที่ดี หากมีความสามารถที่หลากหลาย รู้จักพัฒนาตนเอง สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น แก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ และมีความคิดสร้างสรรค์ เพื่อช่วยต่อยอดการทำงาน จะยิ่งสร้างความได้เปรียบและโอกาสในการทำงาน โดยทักษะที่สำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ 21 แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้

1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม

2. ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี

3. ทักษะชีวิตและอาชีพ

 

********************************************

อ้างอิง
1. ทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 : http://www.okmd.or.th/okmd-opportunity/new-gen/262/

2. 10 ทักษะแรงงานในศตวรรษที่ 21 ต้องการ : https://www.voicetv.co.th/read/493132

3. เทคโนโลยีกับการเรียนการสอน :  https://sites.google.com/site/technologyofdevelopment/profile

โลกในศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียน หรือกิจกรรมนักศึกษานั้น ถือได้ว่ามีความสำคัญอย่างมากในการพัฒนานักศึกษาให้มีทักษะและประสบการณ์ในการดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ ซึ่งกิจกรรมการเรียนรู้นอกห้องเรียนนั้นทำให้นักศึกษามีโอกาสได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็นเครื่องมือฝึกให้นักศึกษาได้เรียนรู้การทำงานเป็นทีม เป็นหมู่คณะ และรู้จักคิด รู้จักวางแผนอย่างเป็นกระบวนการ ซึ่งกระบวนการเหล่านี้ จะเป็นตัวกำหนดการทำงานขององค์กรอย่างมีเป้าหมายที่ชัดเจน มีระยะเวลาที่แน่นอน สามารถวางระบบการทำงานที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อม หรือเพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ และปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำคัญกับการลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่องมือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการจัดการศึกษา เช่น ช่วยนำการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องนอกระบบโรงเรียนและการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความรวดเร็วและแม่นยำในการจัดทำข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ในงานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยีเพื่อช่วยการเรียนการสอน ฯลฯ

           การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ กับการเรียนรู้นอกห้องเรียน ของนักศึกษา นับเป็นสิ่งที่ทำให้นักศึกษา เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเข้าถึงเข้าแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเองและตลอดเวลา ยกตัวอย่างเช่น การใช้เทคโนโลยีในการประชุมสโมสรนักศึกษา, การใช้เทคโนโลยีอำนวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา, การใช้เทคโนโลยีจัดเก็บและบันทึกการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา เป็นต้น ซึ่งการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ของนักศึกษา นับได้ว่าเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อนักศึกษา อันจะนำไปสู่การเป็นบัณฑิตในยุคศตวรรษที่ 21 อย่างมีคุณภาพ

          ทักษะที่สำคัญในการใช้ชีวิตและทำงานในศตวรรษที่ 21 แบ่วออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ 1. ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม 2. ทักษะสารสนเทศ สื่อ เทคโนโลยี 3. ทักษะชีวิตและอาชีพ

ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานบริการการศึกษา
อบรม การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ » การพัฒนางานประจำสู่นวัตกรรมการให้บริการ
การปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน ผู้ปฏิบัติงาน นอกจากจะต้องมีความรู้ความสามารถในงานที่ทำแล้ว สิ่งหนึ่งที่ขาดไม่ได้คือการพัฒนา ซึ่งการพัฒนาตนเองทำให้ผู้ปฏิบัติงานเกิดองค์ความรู้ใหม่ๆ เกิดทักษะใหม่ๆ ที่จะน...
การพัฒนา  งานประจำ  นวัตกรรม     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน กฤตาณัฐ ศรีประภา  วันที่เขียน 22/3/2567 8:02:36  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 23/4/2567 4:31:31   เปิดอ่าน 78  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา » กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 2 การสร้างผลการเร...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน พัฒนพงศ์ เทียนชัย  วันที่เขียน 10/12/2566 13:41:29  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/4/2567 10:47:11   เปิดอ่าน 111  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา » กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในรายวิชา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทบทวน Program Learning Outcomes (PLOS) และสร้าง Course Learning Outcomes (CLOs) สู่การจัดทำ มคอ.3 เเละมคอ. 5 เพื่อขับเคลื่อน AUN QA Version 4.0 กิจกรรมที่ 1 การสร้างผลการเร...
  กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานบริการการศึกษา
ผู้เขียน พัฒนพงศ์ เทียนชัย  วันที่เขียน 10/12/2566 13:31:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/4/2567 12:59:50   เปิดอ่าน 114  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง