เมนู
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
Maejo University
ติดต่อ
บุคลากร (เข้าสู่ระบบ)
หน้าหลัก
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตามคำสำคัญ
ปนเปื้อน
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ
:
ปนเปื้อน
1
ถ่านชีวภาพ
»
ลดการปนเปื้อนของสารเคมีตกค้างในดิน น้ำและพืชที่ปลูก ด้วยถ่านชีวภาพ หรือไบโอชาร์
การทำเกษตรอินทรีย์ โดยเปลี่ยนจากเกษตรเคมี เกษตรปลอดภัย มีระยะเวลาการปรับเปลี่ยน สารเคมีที่ตกค้างในดิน น้ำ รวมถึงการทำแนวกั้น เพื่อลดการปนเปื้อนของสารเคมีจากพื้นที่รอบข้าง ล้วนเป็นปัจจัยที่ต้องพิจารณา การตกค้างของสารเคมีในผลผลิตเกษตร สามารถมาจากดิน น้ำ ที่มีสารเคมีตกค้าง ปนเปื้อนมา การประยุกต์ใช้ถ่านชีวภาพในดิน น้ำ รวมถึงการทำแนวกั้นโดยใช้ถ่านชีวภาพเป็นวัสดุกรองและดูดซับสารเคมีที่ปนเปื้อนเป็นอีกแนวทางหนึ่งที่สามารถนำมาใช้ ลดการปนเปื้อนในพืชที่ปลูกได้
คำสำคัญ :
ถ่านชีวภาพ
ปนเปื้อน
สารเคมี
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
1951
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
9/2/2564 12:38:39
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:26:30
ถ่านชีวภาพ
»
การผลิตถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์
ถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ (Biochar) คือวัสดุที่อุดมด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ฟางข้าว เหง้ามันสําปะหลัง ซังและต้นข้าวโพด มูลสัตว์ กากตะกอนของเสีย เป็นต้น แม้กระทั่งมูลสัตว์นำมาผ่านกระบวนการเผาไหม้ที่มีการควบคุม อุณหภูมิและอากาศหรือจำกัดอากาศให้เข้าไปเผาไหม้น้อยที่สุดซึ่งกระบวนการเผาไหม้นี้ เรียกว่า “การแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิส” ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยมาก มีงานวิจัยที่ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมีหลายด้าน เช่น การปรับปรุงดิน และช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการปลูกได้อีกด้วย แล้วแต่ชนิดของพืชที่ปลูก มีงานวิจัยที่นำถ่านชีวภาพไปใช้กับพืชทางการเกษตร ใช้เป็นวัสดุปลูกร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตร การลดการดูดซับสารเคมีที่ใช้กำจัดวัชพืชและศัตรูพืช และโลหะหนักที่อยู่ในดินและน้ำ ของพืชที่ปลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีกลุ่มนี้ไว้ ทำให้ลดผลกระทบต่อพืชที่ปลูกจากสารเคมีและโลหะหนักที่ปนเปื้อน ใช้ดูดซับน้ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นตัวเร่ง ในปฏิกริยาในกระบวนการผลิตไบโอดีเซละและไบโอแก๊ส ใช้เป็นวัสดุเพื่อผลิตชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์ ผลิตกราฟีน เป็นต้น
คำสำคัญ :
biochar
kiln
กราฟีน
ความร้อน
ดูดซับ
ตัวเร่ง
เตา
เตาไบโอชาร์
ถ่าน
ถ่านชีวภาพ
บำบัดน้ำเสีย
ไบโอชาร์
ปนเปื้อน
ปรับปรุงดิน
ปุ๋ยหมัก
ผักสวนครัว
ไม้ผล
โลหะหนัก
สมุนไพร
สารเคมีปนเปื้อน
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
66697
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
26/10/2562 20:32:24
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:49:53
ถ่านชีวภาพ
»
การผลิตถ่านชีวภาพและแนวทางการใช้ประโยชน์
ถ่านชีวภาพ หรือ ไบโอชาร์ (Biochar) คือวัสดุที่อุดมด้วยคาร์บอน ผลิตจากชีวมวล หรือสารอินทรีย์ที่ย่อยสลายได้จากธรรมชาติ หรือวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร เช่น ใบไม้ กิ่งไม้ หญ้า ฟางข้าว เหง้ามันสําปะหลัง ซังและต้นข้าวโพด มูลสัตว์ กากตะกอนของเสีย เป็นต้น แม้กระทั่งมูลสัตว์นำมาผ่านกระบวนการเผาไหม้ที่มีการควบคุม อุณหภูมิและอากาศหรือจำกัดอากาศให้เข้าไปเผาไหม้น้อยที่สุดซึ่งกระบวนการเผาไหม้นี้ เรียกว่า “การแยกสลายด้วยความร้อนหรือกระบวนการไพโรไลซิส” ในสภาวะที่ไม่มีออกซิเจนหรือมีออกซิเจนน้อยมาก มีงานวิจัยที่ได้ศึกษาการใช้ประโยชน์ของถ่านชีวภาพมีหลายด้าน เช่น การปรับปรุงดิน และช่วยเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตทางการเกษตร รวมถึงลดระยะเวลาการปลูกได้อีกด้วย แล้วแต่ชนิดของพืชที่ปลูก มีงานวิจัยที่นำถ่านชีวภาพไปใช้กับพืชทางการเกษตร ใช้เป็นวัสดุปลูกร่วมกับวัสดุอื่น เพื่อผลิตผลผลิตทางการเกษตร การลดการดูดซับสารเคมีที่ใช้กำจัดวัชพืชและศัตรูพืช และโลหะหนักที่อยู่ในดินและน้ำ ของพืชที่ปลูก โดยถ่านชีวภาพจะตรึงสารเคมีกลุ่มนี้ไว้ ทำให้ลดผลกระทบต่อพืชที่ปลูกจากสารเคมีและโลหะหนักที่ปนเปื้อน ใช้ดูดซับน้ำมันปิโตรเลียม ใช้เป็นตัวเร่ง ในปฏิกริยาในกระบวนการผลิตไบโอดีเซละและไบโอแก๊ส ใช้เป็นวัสดุเพื่อผลิตชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์ ผลิตกราฟีน เป็นต้น
คำสำคัญ :
biochar
kiln
กราฟีน
ความร้อน
ดูดซับ
ตัวเร่ง
เตา
เตาไบโอชาร์
ถ่าน
ถ่านชีวภาพ
บำบัดน้ำเสีย
ไบโอชาร์
ปนเปื้อน
ปรับปรุงดิน
ปุ๋ยหมัก
ผักสวนครัว
ไม้ผล
โลหะหนัก
สมุนไพร
สารเคมีปนเปื้อน
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
หมวดหมู่ :
การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
66697
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
ผู้เขียน
ธนศิษฏ์ วงศ์ศิริอำนวย
วันที่เขียน
26/10/2562 20:32:24
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:49:53