ประชุมวิชาการในงาน The International Conference on Science and Technology 2015
วันที่เขียน 10/2/2559 16:27:35     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/10/2567 19:50:06
เปิดอ่าน: 3631 ครั้ง

The International Conference on Science and Technology 2015 วันที่ 4-6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558 ณ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2558  

8.00 - 9.00 น. ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม

9.00 – 10.10 น. พิธีเปิด

10.10 – 10.50 น. รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ How Have We Enjoyed the Research on Synthesis of Functional Polymer Particles? - Change in Thinking, Serendipity, and Challenge” โดย Professor Dr. Masayoshi Okubo (Kobe University, Japan) ท่านได้บรรยายถึงการทำงานวิจัยให้มีความสุข สนุก และท้าทาย นักวิจัยจะต้องคำนึงถึงองค์ประกอบดังนี้ 1. มีความรู้พื้นฐานในสาขาวิชาที่ทำวิจัยเป็นอย่างดี 2. มีความรู้ในในสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยที่กำลังทำ 3. มีความกระตือรือร้นในการทำงานวิจัยเพื่อหาความรู้ใหม่ๆ 4. มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และ 5. มีความอดทนพร้อมที่จะเผชิญกับปัญหาหรืออุปสรรคนั้นๆ อยู่ตลอดเวลา และหาทางแก้ไขเพื่อให้งานวิจัยสำเร็จ

10.50 – 11.30 น. รับฟังการบรรยายพิเศษในหัวข้อ “Applications Internet of Things (IoT)” โดย Professor Dr. Srisakdi Charmonman (Thailand) ท่านได้อธิบายถึง Internet of Things (IoT)  ว่าเป็นเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตที่จะสามารถขยายวงกว้างออกไปโดยอาศัยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หรือสิ่งของต่างๆ ที่เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ Internet of Thing เช่น อาคารจอดรถของห้างสรรพสินค้าจะมี Sensor ไว้ตรวจสอบจำนวนรถที่จอดในอาคาร โดย Sensor เหล่านี้ จะส่งสัญญาณว่าพื้นที่ตรงนั้นมีรถจอดอยู่หรือไม่ ทำให้ผู้บริหารจัดการอาคารเหล่านั้นสามารถตรวจสอบได้ว่า มีพื้นที่ตรงไหนว่าง ซึ่งจะทำให้ผู้ที่เข้ามาใช้พื้นที่จอดรถสามารถทราบว่าชั้นไหนของอาคารจอดรถ มีพื้นที่ว่าง และสามารถขับรถไปสู่พื้นที่จอดนั้น โดยไม่ต้องเสียเวลาขับรถวนไปมา จากตัวอย่างข้างต้น จะช่วยให้เห็นภาพระหว่าง “Thing” ซึ่งก็คือ “รถยนต์” ที่ถูกตรวจจับโดย “Sensor” และ Sensor จะส่งสัญญานไปสู่ Server ผ่านระบบเครือข่าย ซึ่งอาจจะเป็น “เครือข่ายภายใน (Intranet)” หรือ “เครือข่ายภายนอกทั้งที่เป็นระบบปิด (Extranet)” หรือ “เครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่เป็นระบบเปิด (Internet)” เป็นต้น

วันที่ 4 พฤศจิกายน 2558 เวลา 13.30–17.00 น. และวันที่ 5-6 พฤศจิกายน 2558 เวลา 9.00-16.30 น.

นำเสนอผลงานวิจัยและรับฟังการนำเสนอผลงานวิจัยทางด้านคณิตศาสตร์และคณิตศาสตร์ประยุกต์ที่น่าสนใจดังนี้

A Finite Volume Simulation of Electrical Potential Drop in 2D Cracked Plates, Ni-asri Cheputeh

 

Common Fixed Point Theorems for Generalized Cyclic Contraction Pairs in B-metric Spaces and Application in a System of Integral Equations, Oratai YamaodCoupled

 

Coincidence Point Theorems for Generalized Weakly Contraction Mappings with Application to Dynamic Programmings, Phumin Sumalai

 

A Model for the Estimation of Cloud Cover from Satellite Data, Noppamas Pratummasoot

 

The Bayasian Fuzzy Equilibrium for a General Bayesian Abstract Fuzzy Economy Model of Product Measurable Spaces, Associate Professor Dr. Poom Kuman

 

Linear Programming Model for Solution of Matrix Game with Payoffs Trapezoidal Intuitionistic Fuzzy Number, Darunee Hunwisai

 

Comparison of Rainfall Pattern and Statistical Verification of CPS for Extreme Rainfall on 13 April 2013, Pattara Sukthawee

 

The (p,q) – Lucas Number, Alongkot Suvarnamani

 

On the k-Jacobsthal-Lucas Numbers by Matrix Methods, Somnuk Srisawat

 

Some Identities Involving Common Factors of k-Fibonacci-Like and k-Lucas Numbers, Amaraporn Sengpanit

 

Some Application of Banach Contraction Theorem, Gujarat (India)

 

Spatial Analysis: An Application to Mapping of Dengue Hemorrhagic Fever in Thailand, Krisada Lekdee

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=452
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : การศึกษา การเรียนการสอน
การอบรมและสัมมนา » link smart home cabling system technology for the future
เนื้อหาการอบรม link smart home cabling system technology for the future จะเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับความหมายของเครือข่ายและข่ายสายสัญญาณ รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology) องค์ประกอบพื้น...
เครือข่ายและข่ายสายสัญญาณ  ช่องทางการติดต่อสื่อสารในระบบโทรคมนาคม  ประเภทของสายสัญญาณและ connector  รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์  เส้นใยนำแสง  องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   การศึกษา การเรียนการสอน
ผู้เขียน ภานุวัฒน์ เมฆะ  วันที่เขียน 10/7/2567 9:56:15  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 12/10/2567 0:15:35   เปิดอ่าน 223  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผลงานวิจัย » เทคนิคการเขียนบทความทางวิชาการฯ
ในการเขียนบทความ ควรเริ่มจากการทำแผนที่บทความเพื่อแบ่งสัดส่วนของหัวข้อของบทความข้างต้นตามเกณฑ์วารสารที่กำหนดจะทำให้การเขียนง่ายขึ้น สามารถใช้ ChatGPT ช่วยในการเขียนตามหัวข้อที่กำหนดได้ง่ายขึ้น
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   การศึกษา การเรียนการสอน
ผู้เขียน หนึ่งหทัย ชัยอาภร  วันที่เขียน 4/3/2567 10:46:23  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 13/10/2567 10:08:25   เปิดอ่าน 541  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง