รายงานผลการอบรมพัฒนาซอร์ฟแวร์บนฮาร์ดแวร์ IOT และ Cloud service
วันที่เขียน 28/8/2558 14:23:24     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 14:41:33
เปิดอ่าน: 2920 ครั้ง

ในปัจจุบันอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ในปัจจุบันมีแน้วโน้มพัฒนาไปในด้านการเชื่อมต่อระหว่างกันมากยิ่งขึ้น ทำให้โลกเข้าสู่ยุคของทุกๆสิ่งต่างเชื่อมต่อด้านการส่งข้อมูลระหว่างกันอย่างอิสระ หรือเรียกว่ายุค Internet of things(IOT) ความรู้ ความเข้าใจ และทักษะในการเขียนซอร์ฟแวร์ เพื่อควบคุมและส่งผ่านข้อมูลฮาร์ดแวร์ ที่เชื่อมต่อผ่านอินเตอร์เน็ตจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันและอนาคต

โปรโตคอล (Message Queue Telemetry Transport ,MQTT)
เป็นโปรโตคอลหรือมาตรฐานการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องจักร (computer) กับเครื่องจักร (computer) ที่ส่งผ่านข้อมูลกัน
(machine-to-machine(M2M) บน Internet of Things

โปรโตคอลMQTT ใช้วิธีการพื้นฐานเหมือนกับมาตรฐานการส่งข้อความสั้น ( Message Queue ) ปกติ
แต่ได้รับการพัฒนาให้รองรับงานด้าน Internet of Things มากยิ่งขึ้น อาทิ ขณะมีการรอรับและอ่านค่าแล้ว ยังสามารถสั่งงานอุปกรณ์ที่ใช้ MQTT ได้ด้วย

จุดเด่นที่แตกต่างจากโปรโตคอลอื่นๆ คือ โปรโตคอลนี้ต้องจะต้องมีอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ฝังแม่ข่าย เรียกว่า MQTT Broker เพื่อทำหน้าที่รับส่งข้อมูลไปยังอุปกรณ์อื่นที่ใช้ MQTT เหมือนกัน

MQTT Protocol จะประกอบไปด้วย Broker , Publisher และ Subscriber ซึ่งแต่ละตัวมีหน้าที่ดังนี้
1.Broker จะทำหน้าที่เป็นตัวกลางคอยจัดการ message โดยอ้างอิงด้วย topic ซึ่งโปรแกรมที่ใช้ท า MQTT
Broker มีหลายค่ายให้ใช้งาน หนึ่งในนั้นคือโปรแกรม Mosquitto เป็น OpenSource MQTT Broker สนับสนุน
MQTT Broker v3.1/3.1.1
2.Subscriber จะท าหน้าที่คอยดูการเปลี่ยนแปลงของ message ที่อ้างอิงด้วย topic เช่นสมมติว่าถ้า
หัวข้อที่สนใจมีการเปลี่ยนแปลงก็จะดึง data มาใช้งาน
3.Publisher จะทำหน้าที่ส่งข้อมูลไปยังหัวข้อนั้นๆ

ซึ่งความรู้ที่ได้จากการอบรมเรื่อง โปรโตคอล MQTT นี้สามารถทำให้ผู้เข้าอบรมนำไปพัฒนาอุปกรณ์ ที่เกี่ยวข้องต่างๆกับ Internet of Things และ Cloud service ต่างๆ ได้อีกมากมาย อาทิ smart home smart office smart farm เป็นต้น

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=394
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
การจัดสอบระบบ Dugga » เรียนรู้การใช้งานระบบ Dugga - Digital Assessment Platform
Dugga - Digital Assessment Platform (https://www.dugga.com) เป็นโปรแกรมที่ช่วยในการสอบ บนโลกออนไลน์ ให้สะดวก ปลอดภัยมากขึ้น แนวทางการออกแบบประเภทคำถามมีหลากหลายกว่า 15 ประเภท แนะการจัดการระบบความปล...
AI  Dugga  Exam     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ฐิติพรรณ ฉิมสุข  วันที่เขียน 9/7/2567 12:31:51  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 11:47:10   เปิดอ่าน 26  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การเผยแพร่ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุมวิชาการ/อบรม/สัมมนา » โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
โครงการส่งเสริมศักยภาพบุคลากรในการยื่นขอตำแหน่งทางวิชาการ เรื่อง หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน วิทยากรโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์...
การขอตำแหน่งทางวิชาการ  การตีพิมพ์ผลงาน  จริยธรรมการวิจัย     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน พิกุล ศรีดารัตน์  วันที่เขียน 7/7/2567 15:01:14  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 16/7/2567 7:01:51   เปิดอ่าน 23  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน
หลักเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ การวิจัย จริยธรรมการวิจัย และการตีพิมพ์ผลงาน บรรยายโดย ศาสตราจารย์ ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์ กรรมการ กพว มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้ให้เกียรติบรรยายเกี่ยวกับ หลักเก...
ตำแหน่งทางวิชาการ  ประกาศ ก.พ.อ.     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:15:17  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 2:37:51   เปิดอ่าน 46  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การจัดการองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา » ความเข้าใจที่อาจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE
เป็นประเด็นที่ผู้ประเมินอาจเกิดความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ OBE โดยที่ประเด็นต่าง ๆ ที่นำมาเป็นกรณีศึกษา เพื่อใช้ในการเป็นผู้ประเมินเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ให้เป็นไปในทิศทางเดี...
AUNQA  OBE  ประกันคุณภาพการศึกษา     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานสายวิชาการ
ผู้เขียน ศิรศักดิ์ ศศิวรรณพงศ์  วันที่เขียน 28/6/2567 15:04:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 15/7/2567 4:48:37   เปิดอ่าน 42  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง