การตัดตุงไส้หมู ศิลปะและภูมิปัญญาทางภาคเหนือ
วันที่เขียน 16/5/2555 16:36:06     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:16:36
เปิดอ่าน: 9536 ครั้ง

การตัดตุงไส้หมู ซึ่งได้มีการสืบสานและเผยแพร่กันมา ดังนั้นในช่วงปีใหม่เมือง 2555 นี้คณะจึงได้นำความรู้ดังกล่าวมาเผยแพร่ให้ทุกคนได้เรียนรู้และนำไปใช้ในช่วงเทศกาลปี๋ใหม่เมือง ประหยัดงบประมาณ ได้ความรู้ และสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามอีกทางหนึ่ง

        ธง ภาษาเหนือเรียกว่า "ตุง" ตุงไส้หมู มีรูปร่างคล้ายเจดีย์คว่ำ มีสีหลากหลายสลับกันสวยงามมาก ใช้ได้หลายงานเพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง ความสงบสุข ถือว่าเป็นตุงเคื่องหมายถึงศิริมงคลแก่ผู้ถวาย  ส่วนใหญ่จะเห็นกันในช่วงเทศกาลสงกรานต์ หรือปี๋ใหม่เมือง โดยเฉพาะในวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี ซึ่งทางภาคเหนือถือว่าเป็นวันพญาวัน หรือวันเถลิงศก จะมีการตักบาตรทำบุญ ที่วัด และประเพณีทางเหนือ จะนำตุงไส้หมูดังกล่าวนี้ไปปักที่กองเจดีย์ทรายในวัด เพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตของคนในครอบครัว 
       การตัดตุงไส้หมู  ซึ่งได้มีการสืบสานและเผยแพร่กันมา ดังนั้นในช่วงปีใหม่เมือง เมื่อเดือนเมษายน 2555 นี้คณะจึงได้นำความรู้ดังกล่าวมาเผยแพร่ให้ทุกคนได้เรียนรู้และนำไปใช้ในช่วงเทศกาลปี๋ใหม่เมือง ประหยัดงบประมาณ  ได้ความรู้ และสืบสานวัฒนธรรมที่ดีงามอีกทางหนึ่ง
       เพื่อให้เห็นภาพและขั้นตอนการทำที่ชัดเจน จึงได้รวบรวมเป็นเอกสาร พร้อมภาพประกอบ ผู้ที่ต้องการเรียนรู้ต่อ ลองเข้าไปดูได้ตามเอกสารที่แนบนี้นะครับ

เอกสารประกอบการจัดทำตุงใส้หมู

คำสำคัญ :
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=156
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : ดนตรี ศิลปะ วรรณกรรม บันเทิง
การศึกษาและรวบรวมการใช้พันธุ์ไม้ ประดับลายหม้อปูรณฆฏะในศิลปกรรมล้านนา » การศึกษาและรวบรวมการใช้พันธุ์ไม้ ประดับลายหม้อปูรณฆฏะในศิลปกรรมล้านนา
การศึกษาและรวบรวมการใช้พันธุ์ไม้ ประดับลายหม้อปูรณฆฏะในศิลปกรรมล้านนา เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพ...
หม้อปูรณฆฏะ, หม้อดอก, ศิลปกรรมล้านนา     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ดนตรี ศิลปะ วรรณกรรม บันเทิง
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 25/8/2565 10:00:21  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:09:06   เปิดอ่าน 1373  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การวาดรูปสีน้ำเบื้องต้น » หลักการการวาดสีน้ำ
หลักการระบายสีน้ำ และเทคนิคการระบายสีน้ำ ความจำเป็นที่จะต้องเข้าใจคุณสมบัติของสีน้ำ และต้องสามารถควบคุมได้ การลงมือทดลองจะเห็นธรรมชาติและความเป็นไปของจังหวะสี ดังนั้นการสร้างสรรค์ภาพวาดสีน้ำจึงต้อง...
  บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ดนตรี ศิลปะ วรรณกรรม บันเทิง
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 5/9/2563 22:15:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:42:20   เปิดอ่าน 5370  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
มองภูมิปัญญาทางงานศิลปะผ่านวัฒนธรรมโคมลอย » มองภูมิปัญญาทางงานศิลปะผ่านวัฒนธรรมโคมลอย
การลอยโคมลอยในปัจจุบันนี้แทบไม่มีความเชื่อดั้งเดิมหลงเหลืออยู่ คนจำนวนน้อยมากที่จะรู้ว่าพระธาตุประจำปีเกิดคืออะไร พระเกศแก้วจุฬามณีคืออะไร ทุกคนปล่อยโคมเพื่อหวังจะปล่อยเคราะห์ปล่อยโศกออกจากตัวไปกั...
โคมลอย     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ดนตรี ศิลปะ วรรณกรรม บันเทิง
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 7/8/2560 11:58:01  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 20/11/2567 12:43:50   เปิดอ่าน 3871  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การวาดรูปสีน้ำเบื้องต้น » การวาดรูปสีน้ำเบื้องต้น
การวาดภาพสีน้ำ จะว่าง่ายก็ง่าย จะว่ายากก็ยาก ซึ่งถ้าไม่คิดอะไรก็ป้ายๆสีลงไปเดี๋ยวก็ได้ภาพออกมา แต่ถ้าเล็งผลเลิศคาดหวังกับผลงานอนาคตมากเกินไป ความคิดไม่อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริงในปัจจุบัน หรือ ...
การวาดสีน้ำเบื้องต้น     บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป   ดนตรี ศิลปะ วรรณกรรม บันเทิง
ผู้เขียน ฐาปกรณ์ เครือระยา  วันที่เขียน 1/9/2559 11:05:45  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:37:05   เปิดอ่าน 3820  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง