การอบรมหัวข้อ "link smart home cabling system technology for the future" เป็นการอบรมเกี่ยวกับ LINK® Certified Network Cabling for Engineering : (LCCE) ๒๐๒๔ ดังนี้
- ความหมายของเครือข่ายและข่ายสายสัญญาณ
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzEw&method=inline
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzEz&method=inline
- รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology)
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzE0&method=inline
- องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzE2&method=inline
- ช่องทางการติดต่อสื่อสารในระบบโทรคมนาคม
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzIw&method=inline
- ความสำคัญว่าทำไมต้องใช้สายสัญญาณ
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzIx&method=inline
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzIy&method=inline
- สายสัญญาณแบ่งเป็นแบบไหนบ้าง?
1. สายทองแดง (COPPER)
เช่น UTP, สายโทรศัพทT, CO-AXIAL, MULTICORE, MULTIPAIR, BAS Control cable, LiYCY, H๐๗V-K, CVV
2. เส้นใยนำแสง (FIBER OPTIC)
เช่น GLASS FIBER OPTIC (เส้นใยนำแสงชนิดแก้ว), PLASTIC FIBER OPTIC (เส้นใยนำแสงชนิดพลาสติก)
- Connector แบ่งเป็นแบบไหนบ้าง?
Connector คือหัวต่อที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อสายสัญญาณกับอุปกรณ์ แบ่งได้ 2 แบบ
1. Connector สำหรับ สายทองแดง
เช่น RJ ๔๕, RJ ๑๑, BNC, DB, Modular, สาย Patch Cord ฯลฯ
2. Connector สำหรับ เส้นใยแก้วนำแสง
เช่น ST, SC, LC, FC, MTRJ, Patch Cable ฯลฯ
- เส้นใยนำแสง (FIBER OPTIC)
https://erp.mju.ac.th/openFile.aspx?id=NjQ3NzIz&method=inline
2.ประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในตำแหน่งหน้าที่
2.1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับความหมายของเครือข่ายและข่ายสายสัญญาณ รูปแบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology) องค์ประกอบพื้นฐานในการสื่อสารข้อมูล ช่องทางการติดต่อสื่อสารในระบบโทรคมนาคม ความสำคัญว่าทำไมต้องใช้สายสัญญาณ ประเภทของสายสัญญาณและ connector รวมถึง เส้นใยนำแสง เพื่อนำเนื้อหาทั้งหมดไปใช้ในการเรียนการสอนต่อไป
2.2 ได้ทราบถึงแนวทางการแข่งขันโครงการสุดยอดทักษะสายสัญญาณ เพื่อจะได้เตรียมความพร้อมให้นักศึกษาสำหรับเข้าร่วมแข่งขันในปีต่อๆ ไป
3. ประโยชน์ต่อหน่วยงาน (ระดับงาน/หลักสูตร/คณะ)
3.1 บุคลากรสายวิชาการและนักศึกษาสามารถความรู้เกี่ยวกับ link smart home cabling system technology for the future สำหรับประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
3.2 ได้พัฒนาบุคลากรสายวิชาการและนักศึกษาที่สามารถดูแลและให้ความรู้แก่ผู้ที่สนใจเรียนรู้ทางด้านระบบเครือข่ายจากห้องปฏิบัติการเครือข่ายของบริษัท Interlink ณ สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้