รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ตามคำสำคัญ  : การแก้ไขยีน
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » สรุปเนื้อหาที่ได้รับจากการประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566
การประชุมวิชาการระดับชาติ ประจำปี 2566 “นวัตกรรมเกษตร อาหาร และสุขภาพ” session 6 เทคโนโลยีและนวัตกรรมการเกษตรด้านพืช หัวข้อ เรื่อง การแก้ไขยีน Pi21 โดยระบบ CRISPR/Cas9 เพื่อให้ข้าวต้านทานโรคไหม้ การจัดกลุ่มพันธุ์ข้าวไทยด้วยลำดับนิวคลีโอไทด์ที่แตกต่างของยีนซึ่งเกี่ยวข้องกับความทนแล้ง เครื่องหมายไมโครแซตเทลไลต์ที่แยกความแตกต่างระหว่างข้าวโฟเลตสูงและต่ำ และความหลากหลายทางพันธุกรรมของยีนที่เกี่ยวข้องกับการออกดอกในลำไยพันธุ์ต่าง ๆ จากการกระตุ้นด้วยสารโพแทสเซียมคลอเรต
คำสำคัญ : การแก้ไขยีน  ข้าว  ความทนแล้ง  โฟเลต  ลำไย  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 230  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์  วันที่เขียน 22/1/2567 22:18:42  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 1:21:18
ความรู้จากการเข้าร่วมอบรม/สัมมนา/ประชุมวิชาการ » มะเขือเทศกาบาและปลาแก้ไขยีนในญี่ปุ่น
เทคนิคการแก้ไขยีนหรือการแก้ไขจีโนม (gene/genome editing) เป็นการเปลี่ยนแปลงดีเอ็นเอเป้าหมายโดยการตัดดีเอ็นเอในจีโนมของสิ่งมีชีวิตและทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงยีนในระหว่างกระบวนการซ่อมแซมดีเอ็นเอ ประเทศญี่ปุ่นใช้เทคนิคแก้ไขยีนระบบ CRISPR/Cas9 ผลิตมะเขือเทศแก้ไขยีน 1 ชนิด และปลาแก้ไขยีน 2 ชนิด ได้รับอนุญาตให้จำหน่ายและบริโภคเป็นอาหารได้แล้ว โดยไม่ต้องผ่านการตรวจสอบเหมือนอาหารที่มาจากสิ่งมีชีวิตดัดแปลงพันธุกรรม เนื่องจากเทคนิคการแก้ไขยีนไม่มีการใส่ดีเอ็นเอแปลกปลอม (foreign gene) เข้าไปในสิ่งมีชีวิต
คำสำคัญ : เทคนิคการแก้ไขยีน  ปลาแก้ไขยีน  มะเขือเทศกาบา  
กลุ่มบทความ : กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร
หมวดหมู่ : กลุ่มงานสายวิชาการ
สถิติการเข้าถึง : เปิดอ่าน 3830  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
ผู้เขียน ช่อทิพา สกูลสิงหาโรจน์  วันที่เขียน 20/7/2566 8:41:52  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 22/11/2567 1:52:32