IPv6 คืออะไร?? (Part 1 : Introduction)
วันที่เขียน 18/4/2557 15:54:51     แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 18:08:55
เปิดอ่าน: 4375 ครั้ง

มาตรฐานไอพีแอดเดรสที่ใช้กันทุกวันนี้คือ โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นที่สี่ (IPv4) ซึ่งเป็นมาตรฐานในการส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๘๑ ทั้งนี้การขยายตัวของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว และจำนวนหมายเลขไอพีแอดเดรส ของ IPv4 กำลังจะถูกใช้หมดไป ไม่เพียงพอกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตในอนาคต ซึ่งหากเกิดขึ้นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถเชื่อมต่อเครื่อข่ายเข้ากับระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นคณะทำงาน IETF (The Internet Engineering Task Force) จึงได้พัฒนาโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นใหม่ขึ้น คือ โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นที่หก (IPv6) เพื่อทดแทนโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นเดิม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของตัวโพรโทคอล ให้รองรับไอพีแอดเดรสจำนวนมาก และปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพและความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ตให้ดีขึ้น ทำให้สามารถตอบสนองต่อการขยายตัวและความต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในอนาคตได้เป็นอย่างดี

สิ่งที่คุณต้องรู้เกี่ยวกับ IPv6

อินเทอร์เน็ตสัญญาการเชื่อมต่อที่ไม่ จำกัด แต่การเชื่อมต่อดังกล่าวต้องการให้เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์หาคนอื่นผ่านการวางแผนที่อยู่ร่วมกันแผนปัจจุบันในสถานที่ตั้งแต่ปี 1970 จะวิ่งออกจากที่อยู่เปิดและรูปแบบใหม่ที่เรียกว่า IPv6 จะถูกวางในตำแหน่งที่มีอำนาจอินเทอร์เน็ตขั้นตอนต่อไปของการเจริญเติบโต

สำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่วางแผนล่วงหน้าการเปลี่ยนแปลงนี้สามารถเพิ่มการรักษาความปลอดภัยและการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ความน่าเชื่อถือและประสิทธิภาพการทำงานแต่รอจนนาทีสุดท้ายที่จะทำให้คุณ scrambling สำหรับการปรับปรุงอุปกรณ์ค่าใช้จ่ายหายไปมีโอกาสที่จะทำให้การเปลี่ยนแปลงที่จำเป็นในการส่งเสริมธุรกิจ

IPv6 ได้รับรอบและ touted โดยอุตสาหกรรมเครือข่ายเป็น "เร็ว ๆ นี้" เป็นเวลาหลายปียังมีแกรนด์วันที่เปิดตัวไม่ทั่วโลกบางส่วนของโลกโดยเฉพาะเอเชียและบางผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) และ บริษัท ที่เกี่ยวข้องกับคนอื่น ๆ เป็นผู้นำในการเปลี่ยนแปลงขณะนี้แม้ว่าจะได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าวันแห่งการชำระบัญชีจะมาภายในสองปีถัดไปเป็นกองกำลังขาดแคลนที่อยู่ IP ที่สำคัญมากขึ้นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว

IPv6 คืออะไร

          กลไกสำคัญในการทำงานของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตคือโพรโทคอลอินเทอร์เน็ต ซึ่งใช้หมายเลขอินเทอร์เน็ต หรือ ไอพีแอดเดรส (IP Address) ในการอ้างอิงเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครือข่ายต่าง ๆ บนอินเทอร์เน็ตทั่วโลก เปรียบเสมือนการใช้งานโทรศัพท์ในการติดต่อสื่อสารกัน จะต้องมีเลขหมายเบอร์โทรศัพท์เพื่อให้อ้างอิงผู้รับสายได้ คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องในอินเทอร์เน็ตก็ต้องมีหมายเลข IP Address ที่ไม่ซ้ำกับใคร

          มาตรฐานไอพีแอดเดรสที่ใช้กันทุกวันนี้คือ โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นที่สี่ (IPv4) ซึ่งเป็นมาตรฐานในการส่งข้อมูลในเครือข่ายอินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี ค.ศ. ๑๙๘๑ ทั้งนี้การขยายตัวของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในช่วงที่ผ่านมามีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว และจำนวนหมายเลขไอพีแอดเดรส ของ IPv4 กำลังจะถูกใช้หมดไป ไม่เพียงพอกับการใช้งานอินเทอร์เน็ตในอนาคต ซึ่งหากเกิดขึ้นก็หมายความว่าเราจะไม่สามารถเชื่อมต่อเครื่อข่ายเข้ากับระบบอินเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นได้อีก ดังนั้นคณะทำงาน IETF (The Internet Engineering Task Force) จึงได้พัฒนาโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นใหม่ขึ้น คือ โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นที่หก (IPv6) เพื่อทดแทนโพรโทคอลอินเทอร์เน็ตรุ่นเดิม โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของตัวโพรโทคอล ให้รองรับไอพีแอดเดรสจำนวนมาก และปรับปรุงคุณลักษณะอื่นๆ อีกหลายประการ ทั้งในแง่ของประสิทธิภาพและความปลอดภัยรองรับระบบแอพพลิเคชั่น ใหม่ๆ ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต และเพิ่มประสิทธิภาพในการประมวลผลแพ็กเก็ตให้ดีขึ้น ทำให้สามารถตอบสนองต่อการขยายตัวและความต้องการใช้งานเทคโนโลยีบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในอนาคตได้เป็นอย่างดี

เมื่อไหร่เราจะต้องเริ่มใช้ IPv6

          ควรเริ่มได้เลยตั้งแต่วันนี้ ไม่เช่นนั้นการขยายตัวของเครือข่ายในอนาคตจะลำบาก ส่งผลทำให้การทำธุรกิจ การเติบโตของธุรกิจ เศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศชะงักลงด้วย

          ในต่างประเทศ IPv6 ถูกเริ่มใช้มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว เช่น อเมริกา จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และมาเลเซีย ได้มีการใช้ IPv6 ในเครือข่ายหลายแห่งทั้งของภาครัฐและเอกชน ประเทศในทวีปเอเชีย และยุโรป มีความตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนเครือข่ายมากกว่าประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ เนื่องมาจากปัญหาการขาดแคลนหมายเลข IPv4 บริษัทผู้นำทางด้านเทคโนโลยี IPv6 ล้วนตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ ในประเทศไทยการใช้ IPv6 ส่วนใหญ่อยู่ภายในหน่วยงานวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ  ความจำเป็นประการแรกในการใช้ IPv6 คือการขาดแคลนหมายเลข  IP สิ่งนี้น่าจะเป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับประเทศในเอเชียเช่น เกาหลี และญี่ปุ่น ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสูงกว่าหมายเลข IPv4 ที่ได้รับจัดสรรมาก ความจำเป็นประการที่สอง ได้แก่ ความต้องการบริการหรือแอปพลิเคชั่นชนิดใหม่เช่น การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ ๓ การใช้แอปพลิเคชั่นแบบ Peer-to-peer หรือการพัฒนาเครือข่ายภายในบ้านสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ก็อาจเป็นแรงผลักดันสำคัญสำหรับการนำ IPv6 มาใช้ ในส่วนของผู้ให้บริการหากไม่ได้มีการวางแผนการปรับเปลี่ยนเครือข่ายเป็น IPv6 ล่วงหน้า อาจทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและเสียโอกาสการแข่งขันทางธุรกิจได้

เมื่อไหร่เราจะต้องเริ่มใช้ IPv6

          ควรเริ่มได้เลยตั้งแต่วันนี้ ไม่เช่นนั้นการขยายตัวของเครือข่ายในอนาคตจะลำบาก ส่งผลทำให้การทำธุรกิจ การเติบโตของธุรกิจ เศรษฐกิจ และการพัฒนาของประเทศชะงักลงด้วย

          ในต่างประเทศ IPv6 ถูกเริ่มใช้มาเป็นเวลาหลายปีแล้ว เช่น อเมริกา จีน เกาหลี ญี่ปุ่น และมาเลเซีย ได้มีการใช้ IPv6 ในเครือข่ายหลายแห่งทั้งของภาครัฐและเอกชน ประเทศในทวีปเอเชีย และยุโรป มีความตื่นตัวในการปรับเปลี่ยนเครือข่ายมากกว่าประเทศในทวีปอเมริกาเหนือ เนื่องมาจากปัญหาการขาดแคลนหมายเลข IPv4 บริษัทผู้นำทางด้านเทคโนโลยี IPv6 ล้วนตั้งอยู่ในภูมิภาคนี้ ในประเทศไทยการใช้ IPv6 ส่วนใหญ่อยู่ภายในหน่วยงานวิจัยและมหาวิทยาลัยต่าง ๆ  ความจำเป็นประการแรกในการใช้ IPv6 คือการขาดแคลนหมายเลข  IP สิ่งนี้น่าจะเป็นองค์ประกอบสำคัญสำหรับประเทศในเอเชียเช่น เกาหลี และญี่ปุ่น ซึ่งมีจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสูงกว่าหมายเลข IPv4 ที่ได้รับจัดสรรมาก ความจำเป็นประการที่สอง ได้แก่ ความต้องการบริการหรือแอปพลิเคชั่นชนิดใหม่เช่น การให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ยุคที่ ๓ การใช้แอปพลิเคชั่นแบบ Peer-to-peer หรือการพัฒนาเครือข่ายภายในบ้านสำหรับติดต่อสื่อสารระหว่างอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ ก็อาจเป็นแรงผลักดันสำคัญสำหรับการนำ IPv6 มาใช้ ในส่วนของผู้ให้บริการหากไม่ได้มีการวางแผนการปรับเปลี่ยนเครือข่ายเป็น IPv6 ล่วงหน้า อาจทำให้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายและเสียโอกาสการแข่งขันทางธุรกิจได้

หมายเลข IPv4 จะหมดไปจากโลกนี้จริง ๆ หรือ

          หมายเลข IPv4 ที่มีความยาว ๓๒ บิตนั้น สามารถแตกออกมาได้ทั้งหมดประมาณ สี่พันล้านหมายเลข ซึ่งเมื่อเทียบกับจำนวนประชากรบนโลกนี้แล้ว จำนวนหมายเลขนี้ยังไม่พอแจกจ่ายให้กับทุกคนบนโลกนี้ด้วยซ้ำ (จำนวนประชากรโลกในปี ๒๐๑๓ ประมาณ ๗ พันล้านคน) จริงอยู่ว่าไม่ใช่ทุกคนบนโลกนี้ที่ต้องการไอพีแอดเดรสเป็นของตัวเอง แต่แนวโน้มของการใช้อุปกรณ์ที่มีไอพีแอดเดรสต่อคนก็มีจำนวนเพิ่มมากขึ้น เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต เป็นต้น

          IANA ซึ่งเป็นหน่วยงานกลางที่ดูแลไอพีแอดเดรสได้จัดสรรชุดหมายเลข IPv4 ให้แต่ละภูมิภาคหมดไปตั้งแต่ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ และเมื่อเดือนเมษายน ๒๕๕๔ ทาง APNIC ที่ดูแลการจัดสรรไอพีแอดเดรสในภูมิภาค Asia Pacific ก็ได้ประกาศว่าเหลือหมายเลข IPv4 /8 สุดท้ายแล้ว จึงได้มีการวางนโยบายและข้อกำหนดในการจัดสรรไอพีแอดเดรสที่เข้มงวดขึ้น โดยจะแจกให้ครั้งละ ๑,๐๒๔ หมายเลขเท่านั้น ทำให้การขอหมายเลข IPv4 ยากลำบากมากขึ้น ส่วนภูมิภาคอื่น ๆ ก็เพิ่มความเข้มงวดในการจัดสรรหมายเลข IPv4 เช่นกัน

 

 

คำสำคัญ :
IPv6  
กลุ่มบทความ :
หมวดหมู่ :
แชร์ :
https://erp.mju.ac.th/acticleDetail.aspx?qid=289
ความคิดเห็นทั้งหมด (0)
ไม่มีข้อมูลตามเงื่อนไขที่ท่านกำหนด
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้หมวดหมู่ : กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ » UX/UI Design ต่างกันอย่างไร
การออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการดิจิทัล มีความสำคัญมากขึ้นเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ (User Experience Design: UX Design) และการออกแบบส่วนต่อประสานผู้ใช้ (...
UI Design  UX Design  UX UI  UX/UI  การออกแบบเว็บ     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ช่อทิพย์ สิทธิ  วันที่เขียน 6/9/2567 14:14:09  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:52   เปิดอ่าน 101  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาโปรแกรม » การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร
การพัฒนาระบบเพื่อลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สำหรับการจัดเก็บและทำลายเอกสาร โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยการนำระบบจัดเก็บและทำลายเอกสารมาช่วยปรับปรุงประสิทธิผล ในกระบวนการทำ...
Re-Design Process?  ระบบจัดเก็บและทำลายเอกสาร     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน ณัฐกฤตา โกมลนาค  วันที่เขียน 5/9/2567 11:45:54  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 15:53:41   เปิดอ่าน 250  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง
การพัฒนาระบบสารสนเทศ » ข้อมูลเปิด (Open Data) เบื้องต้น
ข้อมูลเปิด (Open Data) คือ ข้อมูลที่สามารถเข้าถึง ใช้งาน แก้ไข และแบ่งปันได้โดยไม่จำกัดข้อกำหนดหรือค่าใช้จ่าย ข้อมูลเปิดมักถูกเผยแพร่ในรูปแบบที่สามารถอ่านและวิเคราะห์ได้ง่าย เช่น ไฟล์ CSV, JSON, หร...
การเข้าถึง  การใช้งาน  การแบ่งปัน  การเปิดเผย  ข้อมูลเปิด     กลุ่มงานตามสมรรถนะบุคลากร   กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้เขียน สมนึก สินธุปวน  วันที่เขียน 2/9/2567 9:45:13  แก้ไขล่าสุดเมื่อ 21/11/2567 16:01:22   เปิดอ่าน 98  ครั้ง | แสดงความคิดเห็น 0  ครั้ง