รหัสอ้างอิง :
1891
|
|
ชื่อสมาชิก :
พัชรี อินธนู
|
เพศ :
หญิง
|
อีเมล์ :
patcharee.i@mju.ac.th
|
ประเภทสมาชิก :
บุคลากรภายใน [สังกัด]
|
ลงทะเบียนเมื่อ :
8/4/2558 11:39:15
|
แก้ไขล่าสุดเมื่อ :
8/4/2558 11:39:15
|
|
รายการบทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งหมดของ Blog : จากสารชีวมวลสู่พลังงานเชื้อเพลิง
กระบวนการเปลี่ยนสารชีวมวล เช่น เศษอาหาร น้ำเสียโรงงานอุตสาหกรรม วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร เป็นพลังงานชีวภาพด้วยกระบวนการหมักแบบไม่ใช้แสง
|
จากสารชีวมวลสู่พลังงานเชื้อเพลิง
»
เศษอาหาร
|
การผลิตแก๊สชีวภาพจากเศษอาหารเข้มข้นด้วยกระบวนการหมักแบบไม่ใช้แสงโดยใช้ถังปฏิกรณ์แบบกวนต่อเนื่องภายใต้สภาวะที่ไม่มีออกซิเจนอิสระและไม่มีการควบคุมความเป็นกรดด่าง ที่อัตราการป้อนสารอินทรีย์แตกต่างกัน จากการศึกษาคุณสมบัติเบื้องต้นของสารอินทรีย์ประเภทเศษอาหารพบว่าสารอินทรีย์ประเภทเศษอาหารที่ใช้ในการศึกษานี้มีปริมาณของแข็งทั้งหมด ปริมาณของแข็งที่ระเหยได้ และ ค่าปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ เท่ากับ 372,000, 254,000 และ 27,456 มิลลิกรัมต่อลิตร ตามลำดับ มากไปกว่านั้นอัตราส่วนระหว่าง ค่าปริมาณออกซิเจนที่สารเคมีใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ต่อปริมาณไนโตรเจนต่อปริมาณฟอสฟอรัสคือ 100: 1.46: 1.53 แสดงให้เห็นว่าสารอินทรีย์ประเภทเศษอาหารนี้มีสารอาหารจำพวกไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรียในการย่อยสลายสารอินทรีย์ประเภทเศษอาหารภายใต้สภาวะที่ไม่มีออกซิเจนอิสระ
|
คำสำคัญ :
แก๊สชีวภาพ (Biogas) เศษอาหาร (Food waste)
|
กลุ่มบทความ :
บทความการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั่วไป
|
หมวดหมู่ :
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
|
สถิติการเข้าถึง :
เปิดอ่าน
9667
ครั้ง | แสดงความคิดเห็น
0
ครั้ง
|
ผู้เขียน
พัชรี อินธนู
วันที่เขียน
25/1/2559 10:26:28
แก้ไขล่าสุดเมื่อ
21/11/2567 18:13:20
|
|
|
URL สำหรับอ้างอิงถึงหน้านี้