22605 : หน่วยประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้– ชุมพร (โครงการฝึกอบรม)
ประเภทแผนโครงการ: ในแผนปฏิบัติการประจำปี 2568
นายสุวินัย เลาวิลาศ (ผู้เพิ่มข้อมูล)
วันที่ปรับปรุงข้อมูล : 4/12/2567 11:03:13
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
รูปแบบโครงการ
โครงการภายใน
ประเภทโครงการ
โครงการตามแผนปฏิบัติการประจำปีของส่วนงาน (เบิกจ่ายจากงบประมาณเงินรายได้ของส่วนงาน หรืองบประมาณจากแหล่งอื่น)
ช่วงเวลาที่ทำโครงการ
01/12/2567  ถึง  30/09/2568
แผนงาน
กลุ่มเป้าหมาย
จำนวนกลุ่มเป้าหมาย  221  คน
รายละเอียด  กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 221คน 1.บุคลากรหน่วยงาน อปท. 90 คน 2.บุคลากรหน่วยงานสถานศึกษา 70 คน 3.บุคลากรและนักศึกษา 31 คน 4.ตัวแทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 30 คน
รูปแบบกิจกรรม
ตอนที่ 2 งบประมาณ
ประเภททุนสนับสนุนหมวดค่าใช้จ่ายคำอธิบายปีงบประมาณจำนวนเงิน(บาท)
งบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » รายจ่ายดำเนินงาน 1. ค่าลงทะเบียนการเข้ารับการอบรมกลุ่มฯ สมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หลักสูตร “การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบ ที่ 1 และ 2” จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 วัน ค่าลงทะเบียนคนละ 1,000 บาท จำนวน 50,000 บาท
2. ค่าลงทะเบียนการเข้ารับการอบรมกลุ่มฯ สมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร “การบริหารและการจัดการ งานที่ 1 ,2 และ 3” จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 50 คน ๆ ละ 2 วัน ค่าลงทะเบียนคนละ 1,000 บาท จำนวน 50,000 บาท
3. ค่าลงทะเบียนการฝึกอบรมปฏิบัติงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนฯ รุ่นที่ 2/2568 หลักสูตร 5 องค์ประกอบ จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 40 คน ๆ ละ 4 วัน ค่าลงทะเบียนคนละ 2,000บาท จำนวน 80,000 บาท
4. ค่าลงทะเบียนการฝึกอบรมปฏิบัติงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นฯ รุ่นที่ 2/2568 หลักสูตร 6 งาน จำนวน 1 รุ่น ๆ ละ 40 คน ๆ ละ 4 วัน ค่าลงทะเบียนคนละ 2,000 บาท จำนวน 80,000 บาท
2568 260,000.00
งบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร หมวดรายจ่าย » งบอุดหนุน ศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มจ.สำนักวิจัยและวิชาการการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 2568 190,000.00
รวมทั้งหมด0.00
ตอนที่ 3 ผู้รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อผู้รับผิดชอบสถานะ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กมลวรรณ  ศุภวิญญู
นาย สุวินัย  เลาวิลาศ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ชลดรงค์  ทองสง
น.ส. ตรีชฎา  สุวรรณโน
น.ส. ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น
นาย ชัยวิชิต  เพชรศิลา
นาย ชาญวิทย์  ขุนทองจันทร์
น.ส. กันยารัตน์  เมืองรักษ์
ตอนที่ 4 ที่ปรึกษาโครงการ
ไม่มีข้อมูล
ตอนที่ 5 หน่วยงานที่รับผิดชอบโครงการ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร
ตอนที่ 6 นโยบายมหาวิทยาลัย
นโยบาย
นโยบายด้านการพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้
ตอนที่ 7 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย
ประเด็นยุทธศาสตร์
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก
เป้าประสงค์ 68 MJU 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับจากสังคม ชุมชน และประเทศ ด้วยศาสตร์ทางด้านการเกษตร
ตัวชี้วัด 68 MJU 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ 68 MJU 2.3.1.2 ผลักดันผลงานการให้บริการวิชาการของมหาวิทยาลัยให้สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs)
[ 2568 ] ประเด็นยุทธศาสตร์ 68 MJU 5. มีความมั่นคงทางการเงินและเติบโตอย่างยั่งยืน (Financial Sustainability)
เป้าประสงค์ 68 MJU 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด 68 MJU 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ 68 MJU 5.1.2.6 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 8 สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์หน่วยงาน
ประเด็นยุทธศาสตร์
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 2. การขับเคลื่อนผลการดำเนินงานตามพันธกิจหลัก (MOC)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 2.3 ให้บริการวิชาการเพื่อเป็นที่ยอมรับหรือก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงในสังคม ชุมชน และประเทศ โดยมีศาสตร์ทางด้านการเกษตรเป็นรากฐาน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.1 จำนวนงบประมาณบริการวิชาการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.1.1 ปรับปรุงนโยบายการสนับสนุนทุนด้านการบริการวิชาการโดยเน้นพื้นที่ที่กำหนด (Area Base) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ต่างๆ เพื่อเสนอของบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 2.3.4 โครงการเพิ่มรายได้จากทรัพยากรแม่โจ้-ชุมพร (ชุมพร)
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 2.3.4.1 ส่งเสริมการพัฒนาองค์ความรู้จากการให้บริการวิชาการ ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มรายได้ให้กับมหาวิทยาลัย
[2568] ประเด็นยุทธศาสตร์ มจ.ชพ.68 : 5. การสร้างความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Budget and Resource Sustainability)
เป้าประสงค์ มจ.ชพ.68 : 5.1 เป็นมหาวิทยาลัยที่มีความมั่นคงทางงบประมาณและทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ตัวชี้วัด มจ.ชพ.68 : 5.1.2 จำนวนเงินรายได้จากการให้บริการ
กลยุทธ์ มจ.ชพ.68 : 5.1.2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนให้บุคลากรหรือหน่วยงานให้บริการวิชาการเพื่อก่อให้เกิดรายได้
ตอนที่ 9 หลักการและเหตุผล

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) เป็นโครงการที่สมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงสืบสานพระราชปณิธานในการอนุรักษ์ทรัพยากรของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 ที่ทรงเห็นถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช โดยเริ่มการดำเนินงานของโครงการ อพ.สธ. มาตั้งแต่ปี 2535 จนถึงปัจจุบันมีหน่วยงานต่างๆ ที่ร่วมสนองพระราชดำริเพิ่มจำนวนมากขึ้นในทุกๆ ปี อาทิเช่น ส่วนที่เป็นโครงการฐานทรัพยากรท้องถิ่น โดยมีองค์การบริหารส่วนจังหวัด องค์การบริหารส่วนตำบล และเทศบาลตำบล ดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น และส่วนของสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เป้าหมายของโครงการนั้นเพื่อพัฒนาบุคลากร อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรให้เกิดประโยชน์ถึงมหาชนชาวไทย และมีวัตถุประสงค์ คือ ให้เข้าใจและเห็นความสำคัญของทรัพยากร ให้ร่วมคิด ร่วมปฏิบัติ จนเกิดผลประโยชน์แก่คนไทย และให้มีระบบข้อมูลทรัพยากรที่สื่อถึงกันได้ทั่วประเทศ การดำเนินงานในปัจจุบันอยู่ในแผนแม่บทระยะ 5 ปีที่เจ็ด อพ.สธ. (ตุลาคม 2564 - กันยายน 2569) ตามพันธกิจของโครงการ อพ.สธ.มี 3 กรอบการทำงานใน 8 กิจกรรม ได้แก่ กรอบการเรียนรู้ที่ 1 คือ เรียนรู้ทรัพยากรท้องถิ่น มี 3 กิจกรรม (กิจกรรมที่ 1-3) คือกิจกรรมที่ 1 การปกปักทรัพยากร กิจกรรมที่ 2 การสำรวจเก็บรวบรวมทรัพยากร กิจกรรมที่ 3 การปลูกรักษาทรัพยากร กรอบการเรียนรู้ที่ 2 คือ การอนุรักษ์ทรัพยากรท้องถิ่นและใช้ประโยชน์ทรัพยากรนั้นให้ยั่งยืน มี 3 กิจกรรม (กิจกรรมที่ 4-6) คือ กิจกรรมที่ 4 การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากร กิจกรรมที่ 5 ศูนย์ข้อมูลทรัพยากร กิจกรรมที่ 6 การวางแผนพัฒนาทรัพยากร และกรอบการเรียนรู้ที่ 3 การสร้างจิตสำนึกในการรักทรัพยากร มี 2 กิจกรรม (กิจกรรมที่ 7-8) คือ กิจกรรมที่ 7 การสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ทรัพยากร และกิจกรรมที่ 8 กิจกรรมพิเศษสนับสนุนการอนุรักษ์ทรัพยากร ซึ่งการทำงานทั้ง 8 กิจกรรมนี้จะครอบคลุมทรัพยากรทางด้านกายภาพ ชีวภาพ วัฒนธรรมและภูมิปัญญา สวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน มีการดำเนินกิจกรรมด้านการวิเคราะห์ความสอดคล้องงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ครบทุกลำดับการเรียนรู้ของ 5 องค์ประกอบ พืชศึกษา 3 สาระการเรียนรู้ การสำรวจและจัดทำฐานทรัพยากรท้องถิ่น ในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพรมีสมาชิกสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแล้วจำนวน 88 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 29 จากจำนวนสถานศึกษาทั้งหมด และสมาชิกฐานทรัพยากรท้องถิ่นแล้ว จำนวน 17 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 23 จากจำนวนหน่วยงานองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทั้งหมด บทบาทหน้าที่ของศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ซึ่งเป็นหน่วยประสานงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ มุ่งเน้นการสนับสนุนการ ดำเนินงานด้านฐานทรัพยากรท้องถิ่นและสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน โดยมีจุดแข็งที่เป็นพื้นที่ที่มีความสัมพันธ์กันระหว่างทรัพยากรกายภาพ ทรัพยากรชีวภาพ และทรัพยากรวัฒนธรรมภูมิปัญญา ซึ่งมหาวิทยาลัยในท้องถิ่นช่วยในการจัดฝึกอบรมให้กับสมาชิกเพื่อนำไปเป็นแนวทางในการดำเนินงานตามพันธกิจลงสู่ชุมชนท้องถิ่นบูรณาการสู่การเป็นศูนย์อนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรท้องถิ่นตำบลต่อไป แม้ปัจจุบันหลายหน่วยงานตระหนักถึงความสำคัญของการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชและทรัพยากร จึงเข้าร่วมสนองพระราชดำริ และสนับสนุนการดำเนินงาน อพ.สธ.เพิ่มมากขึ้นก็ตาม แต่บุคลากรในอีกหลายองค์กร ทั้งหน่วยงานภาครัฐ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น เทศบาลตำบล และสถานศึกษาต่างๆ ที่ร่วมสนองพระราชดำริ และเป็นสมาชิก อพ.สธ. ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่และขั้นตอนการดำเนินงานของ อพ.สธ. จำเป็นต้องได้รับการฝึกอบรมปฏิบัติการ จากผู้เชี่ยวชาญ และถ่ายทอดองค์ความรู้ให้เจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และคณะคุณครูในโรงเรียนต่างๆ ก่อให้เกิดเครือข่าย อพ.สธ. สืบทอดงานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากร ใช้ทรัพยากรอย่างรู้คุณค่า มีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสุด และมีทรัพยากรใช้ตราบชั่วรุ่นลูกหลานสืบไป ทางงานบริการวิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้-ชุมพร ซึ่งได้รับผิดชอบในเขตพื้นที่จังหวัดชุมพร ภาคใต้ จึงเล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการเป็นศูนย์ประสานงานของจังหวัดชุมพรและหน่วยประสานงานของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ จึงเห็นควรดำเนินโครงการดังกล่าว

ตอนที่ 10 วัตถุประสงค์
วัตุประสงค์
เพื่อสนองพระราชดำริภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช อันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
เพื่อสร้างความเข้าใจในแนวทางการดำเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนและฐานทรัพยากรท้องถิ่นให้แก่สมาชิก
เพื่อพัฒนาบุคลากรของมหาวิทยาลัยในด้านการกำกับดูแลฐานข้อมูลทรัพยากรท้องถิ่น อพ.สธ. (ทรัพยากรพืช สัตว์ ชีวภาพ และภูมิปัญญา)
ตอนที่ 11 ผลผลิตของโครงการและตัวชี้วัด
ผลผลิต : หน่วยประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
KPI 1 : จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ประเภท : เชิงปริมาณ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
121 50 50 คน 221
KPI 2 : ความพึงพอใจต่อโครงการ
ประเภท : เชิงคุณภาพ
ค่าเป้าหมายของตัวชี้วัด
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 หน่วยนับ การคำนวณ ผลลัพธ์
80 80 80 ร้อยละ 80
 
ตอนที่ 12 ผลผลิตของโครงการและค่าใช้จ่าย
ผลผลิต : หน่วยประสานงาน อพ.สธ. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 1 : การฝึกอบรมงานฐานข้อมูลทรัพยากร อพ.สธ.

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/01/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุวินัย  เลาวิลาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.กันยารัตน์  เมืองรักษ์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าเดินทาง (ค่าเบี้ยเลี้ยง, ค่าที่พัก, ค่าพาหนะเดินทาง) เป็นเงิน 7,200 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 7,200.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,200.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 7200.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 2 : การอบรมกลุ่มสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน หลักสูตร “การบริหารและการจัดการ องค์ประกอบ ที่ 1 และ 2

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุวินัย  เลาวิลาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ศิริมาศ  เจี้ยมกลิ่น (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
-ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 3 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท (อบรมจำนวน 2 วัน)
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท (อบรมจำนวน 2 วัน)
- ค่าเดินทาง (ค่าที่พัก, ค่าพาหนะเดินทาง) สำหรับวิทยากร ที่ปรึกษาโครงการ และผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 22,200 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 50 เล่ม ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด1.20x2.50 เมตร จำนวน 2 ผืน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าจ้างเหมาทำกระเป๋าสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม ขนาด 38x32x10 ซม. สกรีน 1 สี 1 ด้าน จำนวน 50 ใบ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 62,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 62,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคบรรยาย จำนวน 20 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 20,400.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ กระดาษลอกลาย ไม้บรรทัด ฯลฯ เป็นเงิน 5,700 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น ต้นไม้สำหรับการอบรม ต้นไม้สำหรับตกแต่งสถานที่ เชือกฟาง ลวด ฆ้อน แพงอัดพรรณไม้ กระดาษหนังสือพิมพ์ ฟองน้ำ กรรไกรตัดกิ่ง ด้ายขาวแดง เข็มเย็บผ้า ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เอทานอล แก้วบิ้กเกอร์ แท่งคนสาร ขวดแก้วขนาดต่างๆ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น รับส่งที่ปรึกษาโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 14,700.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 14,700.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
- หักค่าสาธารณูปโภค 10% (50,000x10%=5,000) (ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากงานบริการวิชาการและการจำหน่ายผลผลิต พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 102800.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 3 : การอบรมกลุ่มสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตร “การบริหารและการจัดการ งานที่ 1 ,2 และ 3”

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/03/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายสุวินัย  เลาวิลาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
น.ส.ตรีชฎา  สุวรรณโน (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 3 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 6,300 บาท (อบรมจำนวน 2 วัน)
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 18,000 บาท (อบรมจำนวน 2 วัน)
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 50 เล่ม ๆ ละ 200 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด1.20x2.50 เมตร จำนวน 2 ผืน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
- ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อรับส่งผู้เข้าอบรม จำนวน 1 วันๆละ 5 คันๆละ 2,200 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาทำกระเป๋าสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม ขนาด 38x32x10 ซม. สกรีน 1 สี 1 ด้าน จำนวน 50 ใบ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 51,500.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 51,500.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ กระดาษลอกลาย ไม้บรรทัด ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น ต้นไม้สำหรับการอบรม ต้นไม้สำหรับตกแต่งสถานที่ เชือกฟาง ลวด ฆ้อน แพงอัดพรรณไม้ ฟองน้ำ กรรไกรตัดกิ่ง ด้ายขาวแดง เข็มเย็บผ้า ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เอทานอล แก้วบิ้กเกอร์ แท่งคนสาร ขวดแก้วขนาดต่างๆ ฯลฯ เป็นเงิน 3,900 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ เป็นต้น เป็นเงิน 5,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 18,900.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 18,900.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
- หักค่าสาธารณูปโภค 10% (50,000x10%=5,000) (ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากงานบริการวิชาการและการจำหน่ายผลผลิต พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 5,000.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 5,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 75400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 4 : การฝึกอบรมปฏิบัติงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนฯ รุ่นที่ 2/2568 หลักสูตร 5 องค์ประกอบ

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/05/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ชลดรงค์  ทองสง (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายชาญวิทย์  ขุนทองจันทร์ (ผู้รับผิดชอบรอง)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 7 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 12,250 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 4 มื้อๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าเดินทาง (ค่าที่พัก, ค่าพาหนะเดินทาง) สำหรับวิทยากร ที่ปรึกษาโครงการ และผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 22,200 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 40 เล่ม ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด1.20x2.50 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าจ้างเหมาทำกระเป๋าสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม ขนาด 38x32x10 ซม. สกรีน 1 สี 1 ด้าน จำนวน 40 ใบ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 81,050.00 บาท 0.00 บาท 81,050.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคบรรยาย จำนวน 20 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุสำนักงาน เช่น กระดาษ ปากกา ดินสอ กระดาษลอกลาย ไม้บรรทัด ฯลฯ เป็นเงิน 5,750 บาท
- ค่าวัสดุคอมพิวเตอร์ เช่น หมึกพิมพ์ ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เอทานอล แก้วบิ้กเกอร์ แท่งคนสาร ขวดแก้วขนาดต่างๆ ฯลฯ เป็นเงิน 3,000 บาท
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น ต้นไม้สำหรับการอบรม ต้นไม้สำหรับตกแต่งสถานที่ เชือกฟาง ลวด ฆ้อน แพงอัดพรรณไม้ ฟองน้ำ กรรไกรตัดกิ่ง ด้ายขาวแดง เข็มเย็บผ้า ฯลฯ เป็นเงิน 4,200 บาท
- ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น รับส่งที่ปรึกษาโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 18,950.00 บาท 0.00 บาท 18,950.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
- หักค่าสาธารณูปโภค 10% (80,000x10%=8,000) (ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากงานบริการวิชาการและการจำหน่ายผลผลิต พ.ศ. 2567)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 128400.00
ชื่อกิจกรรม :
กิจกรรมที่ 5 : การฝึกอบรมปฏิบัติงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นฯ รุ่นที่ 2/2568 หลักสูตร 6 งาน

ช่วงเวลาดำเนินกิจกรรม : 01/12/2567 - 31/08/2568
รายชื่อผู้รับผิดชอบ
นายชัยวิชิต  เพชรศิลา (ผู้รับผิดชอบหลัก)
นายสุวินัย  เลาวิลาศ (ผู้รับผิดชอบหลัก)
งบประมาณดำเนินการ
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าใช้สอย
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 7 มื้อ ๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 12,250 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้าร่วมอบรมและเจ้าหน้าที่ จำนวน 50 คน ๆ ละ 4 มื้อๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 30,000 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าเดินทาง (ค่าที่พัก, ค่าพาหนะเดินทาง) สำหรับวิทยากร ที่ปรึกษาโครงการ และผู้เข้าร่วมโครงการ เป็นเงิน 30,800 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำคู่มือประกอบการอบรม ขนาด A4 จำนวน 40 เล่ม ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท
- ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายไวนิล ขนาด1.20x2.50 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 600 บาท
- ค่าจ้างเหมาทำกระเป๋าสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม ขนาด 38x32x10 ซม. สกรีน 1 สี 1 ด้าน จำนวน 40 ใบ ๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
- ค่าจ้างเหมารถตู้พร้อมน้ำมันเชื้อเพลิง เพื่อรับส่งผู้เข้าอบรม จำนวน 1 วันๆละ 5 คันๆละ 2,200 บาท เป็นเงิน 11,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 100,650.00 บาท 100,650.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าตอบแทน
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคบรรยาย จำนวน 20 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 12,000 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
- ค่าตอบแทนวิทยากร วิทยากรที่เป็นบุคลากรของรัฐ ภาคปฏิบัติ จำนวน 4 คน ๆ ละ 7 ชั่วโมง ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 8,400 บาท (อบรมจำนวน 4 วัน)
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 20,400.00 บาท 20,400.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าวัสดุ
- ค่าวัสดุเกษตร เช่น ต้นไม้สำหรับการอบรม ต้นไม้สำหรับตกแต่งสถานที่ เชือกฟาง ลวด ฆ้อน แพงอัดพรรณไม้ ฟองน้ำ กรรไกรตัดกิ่ง ด้ายขาวแดง เข็มเย็บผ้า ฯลฯ เป็นเงิน 5,000 บาท
- ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เช่น เอทานอล แก้วบิ้กเกอร์ แท่งคนสาร ขวดแก้วขนาดต่างๆ ฯลฯ เป็นเงิน 1,150 บาท
- ค่าวัสดุเชื้อเพลิงและหล่อลื่น รับส่งที่ปรึกษาโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท
ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 7,150.00 บาท 7,150.00 บาท
รายจ่ายดำเนินงาน » ค่าสาธารณูปโภค
- หักค่าสาธารณูปโภค 10% (80,000x10%=8,000) (ตามประกาศมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เรื่องหลักเกณฑ์การจัดสรรรายได้จากงานบริการวิชาการและการจำหน่ายผลผลิต พ.ศ. 2567)

ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 รวม
0.00 บาท 0.00 บาท 0.00 บาท 8,000.00 บาท 8,000.00 บาท
รวมจำนวนเงินทั้งหมด 136200.00
 
ตอนที่ 13 ปัญหาและอุปสรรค
ปัญหาและอุปสรรค
อาจมีจำนวนผู้เข้าร่วมอบรมไม่เป็นไปตามเป้าหมาย
ตอนที่ 14 แนวทางการแก้ไขปัญหาและอุปสรรค
แนวทางการแก้ปัญหาและอุปสรรค
เน้นการประชาสัมพันธ์ให้หลากหลายวิธี
ตอนที่ 15 เอกสารประกอบ
ตอนที่ 16 การบูรณาการ
การเรียนการสอน
ไม่มีข้อมูล
งานทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
ไม่มีข้อมูล
งานวิจัย
ไม่มีข้อมูล
อื่นๆ
ไม่มีข้อมูล