โครงการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว MJU Green University 2023
ส่วนที่ 1 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายชื่อหน่วยงานสถานะ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม » งานอำนวยการ
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม » งานจัดการสิ่งแวดล้อมและภัยพิบัติใหม่
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » สำนักงานมหาวิทยาลัย » กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม » งานจัดการพลังงาน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ » คณะวิทยาศาสตร์
ส่วนที่ 2 สรุปผลการดำเนินการ
กองกายภาพและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับคณะกรรมการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ได้มีดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการให้ครอบคลุมทุกด้าน โดยมีคะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามเป้าหมายที่กำหนด โดยมหาวิทยาลัยมีผลการประเมินอันดับ UI Green Metric World University Rankings ประจำปี 2023 ดังนี้
1.ระดับโลก ได้อันดับที่ 143 จากมหาวิทยาลัย 1,183 แห่ง จากท่ั่วโลกที่เข้าร่วมจัดอันดับ โดยได้รับผลคะแนนเพิ่มขึ้นจากปี 2022 จาก 78.25% เป็น 81.5%
2.มีคะแนนรวมเป็นอันดับที่ 11 ของประเทศ (จาก 55 มหาวิทยาลัยไทย)
3.ผลคะแนนรวมที่ได้ 8,150 คะแนน จากคะแนนเต็ม 10,000 คะแนน
4.คะแนนด้านการจัดการพลังงาน เป็นอันดับ 3 ของประเทศ
5.คะแนนด้านการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความยั่งยืนเป็นอันดับที่ 6 ของประเทศ
6.มีผลคะแนนเพิ่มขึ้น จากปี 2022 จำนวน 3 หมวด คือ Energy and Climate Change, Waste, Transportation
ส่วนที่ 3 ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์โครงการ
ลำดับวัตถุประสงค์ความสำเร็จ
1 เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการให้ครอบคลุมทุกด้าน โดยมีคะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามเป้าหมายที่กำหนด ดำเนินการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และสนับสนุนการดำเนินงานของคณะกรรมการให้ครอบคลุมทุกด้าน เพื่อให้มีคะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนด
2 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทาลัยสีเขียว (Green University) ตามบริบทของส่วนงาน ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) เช่น มอบป้ายรณรงค์ ให้ส่วนงานนำไปใช้ ฯลฯ
3 เพื่อดำเนินการจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจำปี 2566 ดำเนินการจัดเก็บข้อมูล การรายงานข้อมูลการประเมินมหาวิทยาลัยสีเขียว ประจำปี 2566 ครบทุกหมวด และนำส่งข้อมูลการประเมินในระบบในวันที่ 29 ก.ย.66
ส่วนที่ 4 รายงานผลความสำเร็จตามเป้าหมายตัวชี้วัด
ผลผลิตที่ 1 : คะแนนการจัดอันดับ Green University สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 1) กิจกรรมย่อย : ให้ความรู้แก่นักศึกษา "การคัดแยกขยะ & 3R สร้างรายได้" ตัวชี้วัด จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เชิงปริมาณ คน 200 0.00
2. กิจกรรมการติดตามผล ประมวลผล การสื่อสาร และสรุปการดำเนินงาน MJU Green University (ED7) ตัวชี้วัด ข้อมูลรายงานการดำเนินงาน Green University
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- mjuReport2023.pdf
เชิงปริมาณ ชุด 1 0.00
3. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 2) กิจกรรมย่อย : การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ประเภทพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ตัวชี้วัด ความพึงพอใจในการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อทดแทนพลาสติก มากกว่า
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 80 0.00
4. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 1) กิจกรรมย่อย : การเสวนารูปแบบ hybrid แบบ onsite ผสม online ตัวชี้วัด ร้อยละของบุคลากรและนักศึกษาที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับ zero waste เพิ่มขึ้นหรือในระดับดี มากกว่า
เชิงคุณภาพ ร้อยละ 70 0.00
5. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 2) กิจกรรมย่อย : การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ประเภทพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ตัวชี้วัด ปริมาณบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้งที่ลดลง อย่างน้อยเดือนละ
เชิงปริมาณ ชิ้น 600 0.00
6. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 2) กิจกรรมย่อย : การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ประเภทพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ตัวชี้วัด ปริมาณขยะพลาสติกและกระดาษที่ถูกแยกตั้งแต่ต้นทางเพื่อนำมาเพิ่มมูลค่า จากหน่วยงานที่เข้าร่วม Green Office อย่างน้อย
เชิงปริมาณ ร้อยละ 45 0.00
7. กิจกรรมขับเคลื่อน MJU สู่ zero waste community Phase 2 (WS) 2) กิจกรรมย่อย : การส่งเสริมการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก เพื่อลดปริมาณขยะบรรจุภัณฑ์ประเภทพลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวแล้วทิ้ง ตัวชี้วัด จำนวนร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการในการใช้บรรจุภัณฑ์รักษ์โลก จากร้านค้าในมหาวิทยาลัยอย่างน้อย
เชิงปริมาณ ร้อยละ 30 0.00
รวม      0.00
ผลผลิตที่ 2 : ทุกส่วนงานมีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน Green University ของมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดประเภทหน่วยนับเป้าหมายผลลัพธ์ความสำเร็จ
1. คะแนนการจัดอันดับ Green University Ranking เชิงปริมาณ คะแนน 8000 0.00
2. กิจกรรมการรณรงค์ลดการใช้พลังงานและการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ Solar rooftop (EC) ตัวชี้วัด ลดการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก อย่างน้อย
เชิงปริมาณ ร้อยละ 10 0.00
3. กิจกรรมรณรงค์การเดินทางโดยรถไฟฟ้าและจักรยาน Car Free Day (TR3)
เอกสารประกอบตัวชี้วัด
- https://erp.mju.ac.th/informationDetail.aspx?newsId=5437&lang=
เชิงปริมาณ คน 300 0.00
4. กิจกรรมการรณรงค์ลดการใช้พลังงานและการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ Solar rooftop (EC) ตัวชี้วัด เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน อย่างน้อย
เชิงปริมาณ ร้อยละ 10 0.00
5. กิจกรรมปรับเปลี่ยนก๊อกอ่างล้างมือ เป็นก๊อกแบบประหยัดน้ำ (WR3) ตัวชี้วัด จำนวนก๊อกอ่างล้างมือที่เปลี่ยนเป็นก๊อกแบบประหยัดน้ำ อย่างน้อย
เชิงปริมาณ จุด 50 0.00
6. กิจกรรมส่งเสริมให้ส่วนงานดำเนินการ/จัดกิจกรรมขับเคลื่อน Green University ตามบริบทของ ส่วนงาน (ED7) ตัวชี้วัด จำนวนส่วนงานที่เข้าร่วมการดำเนินงาน/การจัดกิจกรรมขับเคลื่อน Green University อย่างน้อย เชิงปริมาณ ส่วนงาน 5 0.00
7. กิจกรรมการรณรงค์ลดการใช้พลังงานและการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ Solar rooftop (EC) ตัวชี้วัด เพิ่มจำนวนแหล่งพลังงานทดแทนของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ อย่างน้อย
เชิงปริมาณ พื้นที่ 1 0.00
รวม      0.00
ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดมีค่าเท่ากับ 0.00
ส่วนที่ 5 ช่วงวันที่ดำเนินงาน
ช่วงเวลาตามแผน ช่วงเวลาดำเนินงานตามจริง
10/04/2566  - 30/09/2566 10/04/2566  - 30/09/2566
ส่วนที่ 6 ภาพประกอบการทำโครงการ