ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกรานต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการช่วยหายใจแบบไม่รุกราน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : พยบ-67-24
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 มีนาคม 2567
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของการใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลทารกเกิดก่อนกำหนดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกรานต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการช่วยหายใจแบบไม่รุกราน
บทคัดย่อ :

การศึกษานี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดผลหลังการทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวปฏิบัติทางการพยาบาลทารกเกิดก่อนก าหนดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกราน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่ก าหนดจ านวน 60 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 30 ราย ได้รับการพยาบาลตามมาตรฐานปกติกลุ่มทดลอง 30 ราย ได้รับการพยาบาลตามแนวปฏิบัติการพยาบาลทารกแรกเกิดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกราน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แนวปฏิบัติการพยาบาลทารกเกิดก่อนก าหนดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกราน แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป และแบบประเมินแผลกดทับรอบจมูก เยื่อบุจมูกบวม และภาวะท้องอืด วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา เปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลทั่วไประหว่างกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลองด้วยสถิติ Mann-Whitney U-test และสถิติ independent t-test เปรียบเทียบการเกิดภาวะแทรกซ้อนของทั้งสองกลุ่มด้วยสถิติ chi-square ผลการศึกษาพบว่าข้อมูลทั่วไปของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกัน (p>.05) การเกิดแผล กดทับรอบจมูก ภาวะเยื่อบุจมูกบวมและภาวะท้องอืดของกลุ่มทดลองน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การใช้แนวปฏิบัติการพยาบาลทารกเกิดก่อนก าหนดที่ได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกรานสามารถช่วยลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับการช่วยหายใจแบบไม่รุกรานของทารกเกิดก่อนก าหนดได้

คำสำคัญ : แนวปฏิบัติการพยาบาล , การช่วยหายใจแบบไม่รุกราน , ทารกเกิดก่อนก าหนด , แผลกดทับรอบจมูก เยื่อบุจมูกบวม , ภาวะท้องอืด
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Impact of Clinical Nursing Practice Guideline for Premature Baby who Receive Non-Invasive Ventilator on Complications from Non-Invasive Ventilator
Abstract :

This study employed a quasi-experimental, two-group post-test design to investigate the impact of Clinical Nursing Practice Guideline for premature newborn receiving non-invasive ventilator support on complications associated with this form of respiratory support. A sample of 60 participants was selected based on specific criteria and divided into two groups: a control group (n=30) receiving standard nursing care and an experimental group (n=30) receiving care according to the Nursing Guidelines for neonatal respiratory support. Research instruments included predetermined neonatal nursing practices for infants receiving non-invasive respiratory support, a general data recording form, and an assessment form for pressure ulcers around the nose, nasal obstruction, and abdominal distension. Statistical analysis involved comparing general data between the control and experimental groups using the Mann-Whitney U-test and independent t-test, and comparing the incidence of complications using the chi-square test. The study found no statistically significant differences in general data between the groups (p >.05). However, the experimental group exhibited a significantly lower incidence of pressure ulcers around the nose, nasal edema, and abdominal distension compared to the control group (p< .05). These findings suggest that adhering to predetermined neonatal nursing practices for infants receiving non-invasive respiratory support may reduce complications associated with this form of respiratory support.

Keyword : Clinical Nursing Practice Guideline, Non-invasive ventilator, Premature Baby, Pressure ulcers around the nose, Nasal obstruction, Abdominal distension
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การพัฒนาทดลอง
สาขางานวิจัย : สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 กษมา ก้านจันทร์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : โรงพยาบาลอุตรดิตถ์
ผู้วิจัยหลัก
70 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 อลิษา ขุนแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 มณฑา อุดมเลิศ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์ คณะพยาบาลศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 อาจารย์บุษกร ยอดทราย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะพยาบาลศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2567
1/10/2566 ถึง 31/3/2567
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
29 มิถุนายน 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิจัยการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ 
ฉบับที่ : ปีที่ 16 ฉบับที่ 1
หน้า : 1-13
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023