การพัฒนาระบบตรวจนับครุภัณฑ์โดยใช้คิวอาร์โค้ด : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.2-67.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 10 มกราคม 2567 ถึง 25 กุมภาพันธ์ 2567
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาระบบตรวจนับครุภัณฑ์โดยใช้คิวอาร์โค้ด : กรณีศึกษาสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ
บทคัดย่อ :

การตรวจนับครุภัณฑ์เพื่อตรวจสอบจำนวนรวมถึงสถานะของครุภัณฑ์ขององค์กร ซึ่งที่ผ่านมาองค์กรใช้วิธีการตรวจ

นับด้วยมือ การบันทึกข้อมูลเพื่อเก็บประวัติการตรวจนับในแต่ละปี ส่งผลให้เกิดปัญหาในเรื่องการตรวจสอบครุภัณฑ์แต่ละชิ้นหรือการค้นหาครุภัณฑ์ในแฟ้มข้อมูลนั้นใช้เวลามาก รวมถึงการบันทึกข้อมูลที่อาจทำให้ตกหล่นในการตรวจนับหรือเกิดข้อผิดพลาดในการบันทึกข้อมูลและการเก็บข้อมูล การเรียกใช้งานข้อมูลที่ยุ่งยาก โดยการพัฒนาระบบตรวจนับครุภัณฑ์นี้มีวัตถุประสงค์คือเพื่อเพิ่มความสะดวกรวดเร็วและช่วยลดเวลาในการตรวจนับ เพิ่มความแม่นยำในการตรวจนับและการรับข้อมูลแบบเรียลไทม์ที่สามารถดูข้อมูลการตรวจนับได้ง่ายและเป็นปัจจุบัน ซึ่งการพัฒนาระบบตรวจนับครุภัณฑ์นี้ จะนำเทคโนโลยี QR Code มาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือในการตรวจนับ โดยมีการใช้ตัวแบบการพัฒนาระบบสารสนเทศแบบ SDLC และ AGILE มาทำการวิเคราะห์และออกแบบและการพัฒนาแอปพลิเคชัน ดังนั้นพบว่าการพัฒนาระบบตรวจนับครุภัณฑ์โดยใช้ QR Code สามารถช่วยเพิ่มความสะดวก ลดความผิดพลาดในการตรวจนับและทำให้การตรวจนับมีความถูกต้องแม่นยำมากยิ่งขึ้น เนื่องจากมีการอ่านข้อมูลอัตโนมัติจาก QR Code ของครุภัณฑ์ และยังมีความแม่นยำในการระบุครุภัณฑ์ รวมถึงดูแลรักษาครุภัณฑ์ขององค์กรได้อย่างถูกต้อง

คำสำคัญ : ระบบตรวจสอบครุภัณฑ์ , เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด , การจัดการครุภัณฑ์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : THE DEVELOPMENT OF AN ASSET INVENTORY SYSTEM USING QR CODE : A CASE STUDY OF NATIONAL ASTRONOMICAL RESEARCH INSTITUTE OF THAILAND
Abstract :

Asset counting is a crucial process for organizations to verify the quantity and status of their

assets. In the past, basic hand counting methods were employed, along with data recording, to maintain historical records of annual counts. This resulted in problems checking each piece of asset or searching for assets in the data file, which took a long time. Moreover, manual data entry could lead to omissions or errors in recording and storage, hindering data retrieval. The development of an asset counting system aims to enhance convenience, expedite the counting process, and improve accuracy. Real-time data reception facilitates effortless access to current counting information. The system leverages QR Code technology to boost efficiency and reliability in asset counting. The SDLC and AGILE information system development models were instrumental in analyzing, designing, and developing the application. The implementation of the asset counting system utilizing QR Code technology has proven effective in augmenting convenience, minimizing counting errors, and fostering more accurate asset counts. This is attributed to the automatic data retrieval from QR codes affixed to assets. Additionally, the system ensures precise asset identification and facilitates proper asset maintenance within the organization.

Keyword : Asset Counting System, QR Code Technology, Asset Management
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ขวัญจิรา ชมภู
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2566)
35 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 สวิณี มูลฟอง
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2566)
35 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตร ชูชื่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
30 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2566
24/2/2566 ถึง 25/2/2567
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
24 กุมภาพันธ์ 2567
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า : 67-81
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023