การพัฒนาแชทบอทสำหรับงานบริการนักศึกษา กรณีศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.2-66.7
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 พฤศจิกายน 2566
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาแชทบอทสำหรับงานบริการนักศึกษา กรณีศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์(1) เพื่อพัฒนาระบบแชทบอทสำหรับบริการนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้(2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพการใช้งานแชทบอท และ(3) ลดภาระการทำงานของเจ้าหน้าที่

งานบริการนักศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการตอบคำถามของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ โดยการพัฒนาระบบแชทบอทอัตโนมัติสามารถแบ่งออก 3 ส่วน ได้แก่(1) ส่วนของการเก็บข้อมูลคำถามและคำตอบของฝ่าย

ลงทะเบียน โอนย้าย สวัสดิการ ทุนการศึกษาที่เคยให้คำปรึกษาแก่นักศึกษาในปีที่ผ่านมาเป็นต้นแบบในการตอบคำถามอัตโนมัติ ด้วยไดอะล็อกโฟลว์ (Dialogflow) (2) ส่วนการพัฒนาส่วนติดต่อผู้ใช้งาน (User

Interface) ผ่านแอปพลิเคชันไลน์ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างแอปพลิเคชันไลน์ (Line Application) กับไดอะล็อกโฟลว์ (Dialogflow) และ (3) ส่วนของการสอนให้แชทบอทเรียนรู้ ผสานการประเมินผลเป็นแบบสอบถาม การประเมินความพึงพอใจกับกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา จำนวน 40 คน ที่มีต่อการใช้งานระบบแชทบอทอัตโนมัติ โดยใช้หลักการทางสถิติ การหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ภาพรวมจากการประเมินความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 3.83 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.84

คำสำคัญ : การพัฒนาแชทบอท ไดอะล็อกโฟลว งานบริการการศึกษา
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development of a Chatbot for Student Services: A Case Study of the Faculty of Business Administration, Maejo University
Abstract :

This study aims to achieve the following objectives: Firstly, to devise a chatbot system

specifically for catering to the needs of students enrolled in the Faculty of Business

Administration at Mae Jo University. Secondly, to assess the effectiveness and efficiency of

utilizing the chatbot system. Lastly, to alleviate the workload of student service personnel

within the Faculty of Business Administration by implementing an automated chatbot system.

The aforementioned system can be categorized into three distinct components: (1) the storage

segment, which archives a collection of question-and-answer data derived from previous

year's consultations regarding registration, transfers, welfare, and scholarships. This data

serves as a foundation for generating automated responses via Dialogflow. (2) The

development of a user interface through the Line Application, which seamlessly interfaces

with Dialogflow. (3) The training component of the chatbot system, which facilitates learning

and merges performance evaluation in the form of surveys. The satisfaction assessment of a

sample group of 40 students utilizing the automated chatbot system was conducted through

statistical principles. The overall satisfaction level was deemed high, with an average score of

3.83 and a standard deviation of 0.84

Keyword : Chatbot development Dialogflow Academic services
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 นุกูล สันอุดร
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ นวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
30 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฉัตร ชูชื่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
40 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 พิมประภา อกตัน
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ นวัตกรรมธุรกิจดิจิทัล
ผู้วิจัยร่วม
30 นักวิจัยรุ่นใหม่
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2566
1/10/2565 ถึง 31/10/2566
ประเภทแหล่งทุน : ทุนส่วนตัว ส่วนตัวของผู้วิจัย
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
30 ตุลาคม 2566
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ :
หน้า : 1238-1250
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023