ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับผลิตภัณฑ์แมลงศัตรูธรรมชาติของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.6-65.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับผลิตภัณฑ์แมลงศัตรูธรรมชาติของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับผลิตภัณฑ์ศัตรูธรรมชาติ ในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาคือเกษตรกรผู้ปลูกข้าวจำนวน 150 ราย และเกษตรกรผู้ปลูกพืชพืชตระกูลกะหล่ำจำนวน 150 ราย ทำการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับโดยใช้แบบจำลองโลจิท (Logit model) ผลการศึกษาพบว่า อายุ (AGE) ระดับการศึกษา (EDU) จำนวนแรงงาน (LAB) ต้นทุน (COST) ทัศนคติเกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ (ATTA) ความรู้เกี่ยวกับเกษตรอินทรีย์ (KNOWA) การรับรู้ต่อแมลงศัตรูธรรมชาติ (PER) มีผลต่อการยอมรับผลิตภัณฑ์แมลงศัตรูธรรมชาติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.10) ยิ่งไปกว่านั้นการศึกษาในครั้งนี้ยังค้นพบว่าเกษตรกรวัยสูงอายุมีการยอมรับที่สูงกว่าเกษตรกรที่มีอายุน้อยเนื่องจากมีความกังวลต่อการตกค้างของสารเคมีทางการเกษตรเพราะอยากมีสุขภาพที่ดีและมีชีวิตที่ยืนยาว

คำสำคัญ : การยอมรับ ผลิตภัณฑ์แมลงศัตรูธรรมชาติ แบบจำลองโลจิท
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Factors Affecting Farmers' Acceptance of Natural Enemy Products in Chiang Mai Province
Abstract :

The objective of this study was to take a gander at the variables that impact the acceptance of natural enemy products in Chiang Mai Province. The study's samples comprised 150 rice farmers and 150 cruciferous farmers. The Logit model was used to examine the factors that influence acceptance. The research results found that age (AGE), level of education (EDU), number of labor (LAB), cost (COST), attitude towards organic agriculture (ATTA), knowledge of organic agriculture (KNOWA), and perception of natural enemies (PER) all had a statistically significant effect on the acceptance of natural enemy products (P<0.10). Moreover, this study found that older farmers had higher levels of acceptance than youngerfarmers, as older farmers were concerned about pesticide residues because they wanted to stay healthy and long life.

Keyword : Acceptance, Natural enemies products, Logit model
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มนตรี สิงหะวาระ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเศรษฐศาสตร์
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
50 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัชนียา บังเมฆ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศมาพร แสงยศ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
8 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 กมลทิพย์ ปัญญาสิทธิ์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้วิจัยร่วม
8 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 นายสุรเดช ไชยมงคล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : งานวิจัยและพัฒนา กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
ผู้วิจัยร่วม
8 นักวิจัยรุ่นเก่า
6 นายสมชาย อารยพิทยา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : งานวิจัยและพัฒนา กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
ผู้วิจัยร่วม
8 นักวิจัยรุ่นเก่า
7 พันชิด ปิณฑะดิษ
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยพะเยา
ผู้วิจัยร่วม
8 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2564
1/1/2564 ถึง 31/12/2564
ประเภทแหล่งทุน : อื่น ๆ อื่น ๆ
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 มกราคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารศิลปศาสตร์และอุตสาหกรรมบริการ 
ฉบับที่ : 1
หน้า : 252-262
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.6
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023