การสร้างมูลค่าเพิ่มและโมเดลธุรกิจของผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปเนื้อหมูของวิสาหกิจชุมชนบนแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน จังหวัดเชียงราย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : 0.2-65.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 มกราคม 2564 ถึง 31 ธันวาคม 2564
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การสร้างมูลค่าเพิ่มและโมเดลธุรกิจของผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปเนื้อหมูของวิสาหกิจชุมชนบนแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน จังหวัดเชียงราย
บทคัดย่อ :

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษา การสร้างมูลค่าเพิ่มและโมเดลธุรกิจของผลิตภัณฑ์

อาหารแปรรูปเนื้อหมูของวิสาหกิจชุมชนบนแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน จังหวัดเชียงรายการศึกษาครั้งนี้ใช้

วิธีแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือ ข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ประกอบการวิสาหกิจชุมชน

แปรรูปเนื้อหมู จำนวน 5 ราย ทำการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ข้อมูลเชิงปริมาณ

จากกลุ่มผู้บริโภคเนื้อหมูแปรรูป จำนวน 250 ราย ได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบโควตา รวมทั้งหมด 250 คน

จากนั้นใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ โดยมีคำถามคัดเลือก เฉพาะกลุ่มผู้บริโภคที่มีพฤติกรรมการซื้อ

เนื้อหมูแปรรูป โดยการใช้วิธีการสัมภาษณ์ผ่านการตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำข้อมูลเชิงคุณภาพ

และปริมาณมาวิเคราะห์ในรูปแบบ Design Thinking เพื่อใช้ในการสร้างมูลค่าเพิ่มและโมเดลธุรกิจของ

ผลิตภัณฑ์อาหารแปรรูปเนื้อหมูของวิสาหกิจชุมชนบนแนวคิดของเศรษฐกิจหมุนเวียน จังหวัดเชียงราย

ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มของวิสาหกิจชุมชนด้านที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญมากที่สุด คือ

ด้านบุคลากร ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านบริการ และด้านภาพลักษณ์ ซึ่งหากทางวิสาหกิจชุมชนให้ความสำคัญกับ

ปัจจัยเหล่านี้จะช่วยส่งผลให้วิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็ง สามารถตอบสนองความต้องการและสร้างความ

พึงพอใจต่อผู้บริโภคต่อไปได้ 2) การสร้างรูปแบบโมเดลธุรกิจสำหรับวิสาหกิจชุมชน ผลิตภัณฑ์แปรรูปที่ผู้บริโภค

นิยม ได้แก่ แคบหมู หมูยอ และไส้กรอก ต้องมีการนำเสนอผลิตภัณฑ์โดยกล่าวถึง ผู้บริโภคสามารถทานเป็น

เครื่องเคียงได้อย่างลงตัวและมีรสชาติอร่อย ถูกปาก นอกจากนี้ทางวิสาหกิจชุมชนต้องรักษาเรื่องความสะอาด

ของร้าน และกลิ่นรบกวน เพราะจะส่งผลต่อภาพลักษณ์ในสายตาของผู้บริโภคเป็นอย่างมาก หมั่นทำการ

ส่งเสริมการขายอยู่บ่อยครั้ง จัดจำหน่ายตาม ตลาดสด ร้านค้าชุมชน และร้านสะดวกซื้อ ก็จะช่วยเข้าถึง

ผู้บริโภคได้อย่างมาก

คำสำคัญ : การสร้างมูลค่าเพิ่ม โมเดลธุรกิจ วิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจหมุนเวียน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : VALUE ADDED AND BUSINESS MODEL OF PROCESSED PORK PRODUCTS FOR ENTERPRISE COMMUNITY ON THE BASIS OF CIRCULAR ECONOMY IN CHIANG RAI PROVINCE
Abstract :

The purpose of this research was to study a value added and business model of

processed pork products for an enterprise community on the basis of circular economy in

Chiang Rai Province. This research used a mixed-method study. The sample groups for

qualitative research consisted of 5 community enterprise entrepreneurs selected by a

purposive sampling technique. The data were collected from in-depth interviews. The sample

groups for quantitative research consisted of 250 processed pork consumers selected by an

accidental sampling technique with screening questions for specific groups of consumers with

purchasing behaviors of processed pork. The data were collected using a questionnaire. Both

qualitative and quantitative data were then analyzed by utilizing the design thinking method

to create a value added and business model of processed pork products for enterprise

community on the basis of circular economy in Chiang Rai Province. The results revealed that

1) the value-added approaches of community enterprises in the aspect that the consumers

gave the most importance were personnel, products, services, and image. If the community

enterprises paid attention to these factors, it helped to strengthen the community enterprises

to meet the needs and create further satisfaction for consumers. 2) in creating a business

model for community enterprises, the most popular processed products with consumers were

pork rind, Vietnamese pork and sausages. Product presentation must be mentioned.

Consumers could eat as a side dish perfectly and have a delicious, mouth-watering taste. In

addition, community enterprises must maintain cleanliness and minimize odors to do effective

promotions at fresh markets, community shops and convenience stores, which would help

reach consumers greatly.

Keyword : Business Model, Circular Economy, Enterprise Community, Value Added
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว
ประเภทบุคคล : นักศึกษา
หน่วยงานต้นสังกัด : บริหารธุรกิจ บริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2564)
40 นักวิจัยรุ่นใหม่
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดา ศรีนฤวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล ตุลาสมบัติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 นักวิจัยรุ่นเก่า
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2564
1/1/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : อื่น ๆ อื่น ๆ
0.00
   รวมจำนวนเงิน : 0.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
25 มีนาคม 2565
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า : 286-298
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023