โครงการต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : -- ไม่ระบุ --
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : กำลังดำเนินการ
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2564 ถึง 30 กันยายน 2565
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : โครงการต้นแบบการพัฒนาระบบผลิตน้ำเพื่อการเกษตรจากอากาศโดยใช้ความเย็นพื้นดินร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์
บทคัดย่อ :

อาชีพเกษตรกรรมมีบทบาทสาคัญอย่างยิ่งต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ เนื่องจากการเกษตรเป็นแหล่งผลิตอาหารที่สาคัญของชาวโลก ก่อให้เกิดความมั่นคงด้านอาหาร เป็นฐานวัตถุดิบให้กับภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ สร้างรายได้ให้กับปะเทศ ในปี 2562 ประเทศไทยมีมูลค่าการส่งออกพืชผลทางการเกษตรถึง 1,177,239 ล้านบาท (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2563) นอกจากนี การเกษตรยังเป็นแหล่งภูมิปัญญาและวัฒนธรรมที่สืบต่อกันมานาน การพัฒนาภาคการเกษตรให้ยั่งยืนจึงถือเป็นหัวใจสาคัญสาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย ปัจจุบันการเกษตรของประเทศไทยเผชิญกับปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ ทั งในด้านของปัญหาสภาวะโลกร้อนและวิกฤตการณ์ภัยแล้ง ซึ่งภัยแล้งเกิดจากปริมาณฝนน้อยกว่าปกติ ไม่เพียงพอต่อความต้องการหรืออาจเกิดจากฝนตกไม่ถูกต้องตามฤดูการก่อให้เกิดการขาดแคลนนา ขาดความชุ่มชื่น สร้างความเสียหายต่อภาคการเกษตรในวงกว้าง ทาให้พืชผลทางการเกษตรไม่สมบูรณ์และไม่เจริญเติบโต (ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2562) การขาดแคลนนาหรือภัยแล้งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ นต่อเนื่องและยาวนาน ทาให้เกิดการช่วงชิงทรัพยากรนาระหว่างชุมชนเมือง อุตสาหกรรม และชนบท ซึ่งในภาคการเกษตรมีการใช้นามากกว่าร้อยละ 90 ของนาทั งหมด เกิดความไม่สมดุลของปริมาณนา ทาให้เกิดความไม่สมดุลของปริมาณนาส่งผลกระทบต่อการดารงชีวิตเกิดความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศและสภาพแวดล้อม (โครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555) ประเทศไทยมีปริมาณฝนรวมตลอดปีเฉลี่ยทั่วประเทศประมาณ 1,572.5 มิลลิเมตร ปริมาณฝนในแต่ละพื นที่ เปลี่ยนแปลงไปตามลักษณะภูมิประเทศ นอกเหนือจากการผันแปรตามฤดูกาล บริเวณประเทศไทยตอนบนปกติจะแห้งแล้ง และมีฝนน้อยในฤดูหนาว (กรมอุตุนิยมวิทยา, มปป.) ดังนั นประเทศไทยจึงมีแนวทางในการจัดการนาโดยกรมชลประทานเป็นหน่วยงานหลักที่ทาหน้าที่ในดูแลการจัดการทรัพยากรนาและจัดสรรทรัพยากรนาของประเทศ โดยทาการสร้างเขื่อนเพื่อกักเก็บนารวมถึงอ่างเก็บนา และจัดการนาในระบบชลประทาน ปัจจุบันประเทศไทยสามารถกักเก็บนาเพื่อใช้งานได้ในฤดูแล้งได้ 74,000 ล้านลูกบาศก์เมตร แต่สามารถใช้ได้จริงเพียงปีละ 55,000 ล้านลูกบาศก์เมตร และสามารถใช้ได้ในพื นที่ชลประทานเท่านั น (โครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2555) ซึ่งยังไม่เพียงพอต่อความต้องการการใช้งานของเกษตรกรภายในประเทศ ซึ่งจากรูปที่ 4 การใช้นาในภาคเกษตร เช่น การปลูกข้าว อ้อย และมันสาปะหลัง ซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของมีการใช้ในปริมาณที่สูง ขณะเดียวกันก็ให้ผลการตอบแทนที่ต่าเมื่อเทียบกับการปลูกพืชที่ใช้นาน้อย ดังนั นการใช้นากับภาคเกษตรประเภทนี จึงเป็นอีกสาเหตุที่ทาให้ปริมาณนาไม่เพียงพอ ซึ่งการแก้ไขอาจต้องเปลี่ยนแนวคิดการปลูกพืชตามที่ภาครัฐสนับสนุน

คำสำคัญ : การสกัดนาจากอากาศ , ความชื นสัมพัทธ์ , อุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน , พลังงานแสงอาทิตย์
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development prototype of water agricultural generated system from air with using ground coolant and solar energy
Abstract :

ไม่มี

Keyword : Atmospheric water generators, Relative humidity, Heat exchanger, Solar energy
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงปริมาณ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยประยุกต์
สาขางานวิจัย : สาขาวิศวกรรมศาสตร์และอุตสาหกรรมวิจัย
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิกราน หอมดวง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยหลัก
(2565)
45 นักวิจัยรุ่นเก่า
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กิตติกร สาสุจิตต์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
15 นักวิจัยรุ่นเก่า
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ยิ่งรักษ์ อรรถเวชกุล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชูรัตน์ ธารารักษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
10 นักวิจัยรุ่นเก่า
5 อาจารย์ ดร.ประนอม ยังคำมั่น
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
5 นักวิจัยรุ่นเก่า
6 อาจารย์ ดร.แสนวสันต์ ยอดคำ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
5 นักวิจัยรุ่นเก่า
7 ภูนิฑัต สายแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
8 ประภัสสร รัตนไพบูลย์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยพลังงานทดแทน
ผู้วิจัยร่วม
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2565
1/10/2564 ถึง 30/9/2565
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
แหล่งทุน สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
1,026,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,026,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023