ผลของการใช้ผักโขม (Amaranthus spinosus L.) ที่มีการปรับปรุงคุณภาพโดยการเสริมด้วยเอนไซม์ย่อยเยื่อใยหรือการหมักต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรพันธุ์ราดในระยะหย่านมถึงรุ่น

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : สศ001/62
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : ผลของการใช้ผักโขม (Amaranthus spinosus L.) ที่มีการปรับปรุงคุณภาพโดยการเสริมด้วยเอนไซม์ย่อยเยื่อใยหรือการหมักต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรพันธุ์ราดในระยะหย่านมถึงรุ่น
บทคัดย่อ :

บทคัดย่อ: การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้ผักโขม (Amaranthus spinosus L.) ที่มีการปรับปรุงคุณภาพโดยการเสริมด้วยเอนไซม์ย่อยเยื่อใยหรือการหมักต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรพันธุ์ราดในระยะหลังหย่านมถึงระยะสุกรรุ่น โดยใช้สุกรพันธุ์ราดเพศผู้ตอน อายุประมาณ 60 วัน น??้ำหนักเริ่มต้นโดยเฉลี่ย 9.04 ? 0.99 กิโลกรัม จ??ำนวน 32 ตัว โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ๆ ละ 4 ซ้ำๆ ตามแผนการทดลองแบบสุ่มอย่างสมบูรณ์ (Completely Randomized Design: CRD) โดยแต่ละซ้ำประกอบด้วยสุกรจำนวน 2 ตัวเลี้ยงภายในคอกเดียวกัน สุ่มสุกรในแต่ละหน่วยทดลองให้ได้รับอาหารในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ กลุ่มที่ 1 อาหารควบคุม (ไม่มีการใช้ผักโขมในสูตรอาหาร) กลุ่มที่ 2 อาหารพื้นฐานที่มีการทดแทนกากถั่วเหลืองด้วยผักโขมแห้งบดร้อยละ 20 กลุ่มที่ 3 อาหารพื้นฐานที่มีการทดแทนกากถั่วเหลืองด้วยผักโขมแห้งบดร้อยละ 20 และเสริมด้วยเอนไซม์ (Hostazym? X Enzyme; 0.01%, w/w) กลุ่มที่ 4 อาหารพื้นฐานที่มีการทดแทนกากถั่วเหลืองด้วยผักโขมหมักแห้งบดร้อยละ 20 โดยมีการคำนวณโภชนะให้มีระดับโปรตีนร้อยละ 17 ระดับพลังงานที่ใช้ประโยชน์ได้ 3,100 kcal ME/kg ผลการทดลองพบว่าอาหารที่มีการใช้ผักโขมแห้งบดที่มีการเสริมเอนไซม์และผักโขมหมักแห้งบดที่ร้อยละ 20 ของสุตรอาหารส่งผลต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตของสุกรพันธุ์ราดในระยะหลังหย่านม – รุ่น ที่สูงกว่ากลุ่มควบคุมและกลุ่มที่ทำการเสริมด้วยผักโขมแห้งบด (P<0.01) ในขณะที่ปริมาณการกินได้ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05)

คำสำคัญ : ผักโขม , เอนไซม์ย่อยเยื่อใย , การหมัก , สุกรพันธุ์ราด
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Effects of improve amaranth meal quality (Amaranthus spinosus L.) by exogenous fibrotic enzyme supplementation or fermentation process on growth performances of native Moo Lath pigs (post weaning – growing period)
Abstract :

The aims of this study were to determine the Effects of improve Amaranth meal quality (Amaranthus spinosus L.) by exogenous fibrotic enzyme supplementation or fermentation process on growth performances of native Moo Lath pigs in post weaning – growing period. A total of 32 castrated male native Moo Lath pigs (around 60-days old; initial body weight 9.04 ? 0.99 kg) were randomly allotted to 4 dietary treatments (4 replicate pens of 2 pigs per pen)

in completely randomized design (CRD). Four dietary treatments were T1: Basal diet (Controlgroup), T2: Replacement soybean meal with Amaranth meal 20%, T3: Replacement soybean meal with amaranth meal 20% plus with Hostazym? X Enzyme 0.01 % (w/w) and T4: Replacement soybean meal with Amaranth meal silage 20%. All dietary group were calculated with 17 % crude protein and 3,100 kcal ME/kg. The results found that Moo Lath pigs fed with diet supplementation with Amaranth meal replacement soybean meal plus with enzyme and diet with amaranth meal silage 20% could increase growth performances than Moo Lath pigs fed with control group and diet with amaranth meal 20% (P<0.01) while feed intake were not significantly among treatments (P>0.05).

Keyword : amaranth meal, fibrotic enzyme, fermentation process and Moo Lath pigs
รูปแบบงานวิจัย : งานวิจัยเชิงคุณภาพ
ประเภทงานวิจัย : การวิจัยพื้นฐาน
สาขางานวิจัย : สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : กิจกรรมด้านการวิจัย
Road map : -- ไม่ระบุ --
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 Souliphong Khounthavong
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : นักศึกษา คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จุฬากร ปานะถึก
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จำรูญ มณีวรรณ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัวเรียม มณีวรรณ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายนอกสถาบัน งานวิจัยระดับชาติ
100,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 100,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
28 มกราคม 2562
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
ฉบับที่ : พิเศษ 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร :
0.2
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023