การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำพริกน้ำปูเพื่อความปลอดภัยทางด้านอาหาร

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-004.6
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตน้ำพริกน้ำปูเพื่อความปลอดภัยทางด้านอาหาร
บทคัดย่อ :

ผลิตภัณฑ์น้าพริกน้าปูเป็นอาหารพื้นเมืองของภาคเหนือ เนื่องจากมีกลิ่นและรสชาติเฉพาะตัวและสามารถเก็บรักษาได้นานเมื่อผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อในระดับสเตอริไลส์ จากผลการเปรียบเทียบชนิดของพริกและวิธีการทาแห้งที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้าพริกน้าปู พบว่า ค่าสีที่ได้ของตัวอย่างพริกจินดาเขียว (Capsicum furtescens) ร่วมกับการย่างและพริกขี้หนู (C. furtescens) ร่วมกับการอบมีสีเขียวอมเทาจากการลดลงของค่า L* และ b* เนื่องจากน้าพริกประกอบด้วยกระเทียม หอมแดงและพริกที่ผ่านการย่างและการอบจากกระบวนการให้ความร้อนและผสมกับน้าปูทาให้ตัวอย่างมีสีคล้า นอกจากนี้การผลของค่ากิจกรรมของน้าของตัวอย่างใช้พริกขี้หนูร่วมกับการย่างและพริกหนุ่มร่วมกับการอบมีค่าสูงสุด เนื่องจากกระบวนการให้ความร้อนส่งผลต่อน้าอิสระในตัวอย่างสูญเสียความชื้นออกออกมาในรูปของไอระเหยสู่บรรยากาศ ผู้บริโภคให้การยอมรับน้าพริกน้าปูสูตรพริกหนุ่มร่วมกับการย่างโดยเฉพาะรสเค็มและความชอบโดยรวม ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงเลือกสูตรพริกหนุ่มร่วมกับวิธีการย่างนามาศึกษาในขั้นตอนต่อไป จากผลการเปรียบเทียบชนิดของบรรจุภัณฑ์และวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้าพริกน้าปู พบว่า การใช้ถุงรีทอร์ทเพาซ์แบบใสร่วมกับการสเตอริไลส์มีผลทาให้ตัวอย่างเปลี่ยนเป็นสีเขียวเข้มจากผลของการลดลงของค่า a* และ b* มีค่าความชื้นและไขมันสูงที่สุด จากการสเตอริไลส์ส่งผลต่อรงควัตถุและเซลล์เมมเบรนของอาหารโดยตรง โดยเฉพาะเมื่อถูกความร้อนส่งโมเลกุลน้ามีการเคลื่อนที่อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้การใช้ทั้งถุงรีทอร์ทเพาซ์แบบใสและแบบทึบร่วมกับการสเตอริไลส์มีค่ากิจกรรมของน้าและค่าความเป็นกรด-ด่างมีค่าสูงสุดจากผลของความร้อน ผู้บริโภคให้การยอมรับน้าพริกน้าปูสูตรพริกหนุ่มร่วมกับการย่างโดยเฉพาะเนื้อสัมผัสและความชอบโดยรวม ในขณะน้าพริกน้าปูที่ไม่ผ่านการให้ความร้อนมีจานวนเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดและยีสต์และรา มีจานวนเท่ากับ 1.92 x 10 CFU/g และ 2.80 x10 CFU/g ตามลาดับ เมื่อตัวอย่างผ่านการพาสเจอร์ไรส์และการสเตอริไลส์ไม่สามารถตรวจสอบจานวนเชื้อจุลินทรีย์และเชื้อ Salmonella spp. แต่พบเชื้อ Escherichia coli มีค่าน้อยกว่า 3 MPN/g และเชื้อ Staphylococcus aureus ยีสต์และรามีค่าน้อยกว่า 10 CFU/g ซึ่งอยู่ไม่เกินเกณฑ์ที่ยอมรับได้ตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช. 293/2547) ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงนาน้าพริกน้าปูบรรจุถุงรีทอร์ทเพาซ์ทั้งแบบทึบร่วมกับวิธีการฆ่าเชื้อการพาสเจอร์ไรส์และแบบสเตอริไลส์นามาศึกษาในขั้นตอนต่อไป ผลการเปรียบเทียบวิธีการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์และระยะเวลาในการเก็บรักษาที่มีผลต่อคุณภาพของผลิตภัณฑ์น้าพริกน้าปู พบว่า น้าพริกน้าปูที่บรรจุถุงรีทอร์ทเพาซ์ทั้งแบบใสและแบบทึบ และผ่านการฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ทั้ง 2 วิธี ที่ผ่านการเก็บรักษานาน 0 7 14 21 28 และ 35 วัน ที่อุณหภูมิปกติ (30 องศาเซลเซียส) มีแนวโน้มที่ค่า L* ลดลง แต่ค่า b* เพิ่มขึ้นเล็กน้อย ปริมาณเถ้าและเยื่อใยที่มีความผันผวนเพิ่มขึ้นและลดลงจากวันแรกของการเก็บรักษา ลักษณะของน้าพริกน้าปูที่บรรจุถุงรีทอร์ทเพาซ์แบบใสและแบบทึบที่ผ่านการฆ่าเชื้อแบบสเตอริไลส์ มีสีคล้าและเนื้อสัมผัสเละมากกว่าการฆ่าเชื้อแบบพาสเจอร์ไรส์ โดยตัวอย่างทั้ง 4 มีน้าไหลเยิ้มซึมออกมาเมื่อเปิดออกจากถุงและเห็นลักษณะเส้นใยของพริก และหอมแดงได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ไม่พบเชื้อจุลินทรีย์ที่มีชีวิตและเชื้อ Salmonella spp. แต่พบเชื้อ Escherichia coli มีค่าน้อยกว่า 3 MPN/g และเชื้อ Staphylococcus aureus ยีสต์และรามีค่าน้อยกว่า 10 CFU/g ตลอดอายุการเก็บรักษา จากกระบวนการเตรียมวัตถุดิบ การผลิตและการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์น้าพริกน้าปูดังกล่าวส่งผลให้เกิดความปลอดภัยทางด้านจุลชีววิทยาและผลิตภัณฑ์ที่ได้มีลักษณะทางกายภาพ เคมีและประสาทสัมผัสที่ยอมรับได้ตลอดอายุการเก็บรักษา

คำสำคัญ : น้าพริกน้าปู กระบวนการผลิตน้าพริกน้าปู อาหารปลอดภัย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Development and Improvement of Crab Chili Paste Processing for Food Safety
Abstract :

Crab chili paste is a northern traditional food because of its unique flavor and taste. Further, it is mostly kept for a long period under sterilization condition. Comparison between chili pepper types and drying methods on the quality of chili paste products, the results showed that the obtained chili paste from green hot pepper (Capsicum furtescens) with grilling and bird chili (C. furtescens) with baking were changed to be greyish green with reducing both L* and b* values. The results were low because the products containing garlic, shallot and chili that are baked and grilled from heat treatment and changed to be darkness with mixed crab paste. Particularly, using bird chili with grilling and green chili (C. annuum) with baking gave the highest Aw value in chili paste. Due to heat processing affected free water of product to lose moisture in vapor form to the air in the environment. Finally, green chili and grilling sample is accepted by consumer especially salty and overall preference. The results indicated that green chili with grilling is suitable for further processing. Comparison between packaging types and thermal processes on the quality of the crab paste products, the results were found that using transparent retort pouch and sterilization were changed to be dark green with decreasing both a* and b*, gave the highest moisture and lipid contents. Due to sterilization affected pigment cell membrane of food directly when the product is heated water molecules vibrate quicker. Furthermore, using both transparent and thick retort pouches with sterilization gave the highest Aw value and pH as a result of heat treatment. Finally, sterilized sample is accepted by consumer especially texture and overall preference. Total viable count and yeast and mold of unheated chili paste were 1.92 x 10 CFU/g and 2.80 x10 CFU/g, respectively. The pasteurized and sterilized samples were not found total viable count and Salmonella spp., but were found Escherichia coli less than 3 MPN/g and Staphylococcus aureus and yeast and mold less than 10 CFU/g, which were acceptable criteria according to the Thai Community Product Standard (TCPS 293/2547). The results indicated that thick retort pouches with pasteurization and sterilization are suitable for further processing. Comparison between heat treatment and storage time on the quality of chili paste products, the results showed that trend of L * value was lower and trend of b * value was slightly higher. Moreover, ash and fiber contents had increased and decreased volatility from first day of storage period. Characteristic of crab chili paste packed with thickand transparent retort pouches and passed through sterilized condition had more darkness and mushy texture than pasteurized sample. All 4 samples had a sticking viscosity and leaked water, when they were opened from the bags. The fibers of the chili and shallots were visible clearly. Particularly, the samples were not found total viable count and Salmonella spp. but were found Escherichia coli less than 3 MPN/g while Staphylococcus aureus, yeast and mold less than 10 CFU/g throughout storage period. The results indicated that preparing, production, and storage stages of crab chili paste affected biological safety and the obtained product had physicochemical properties and sensory attributes that are accepted throughout storage period.

Keyword : Rice field crab chili paste, Crab chili paste production, Food safety
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-63-02-004 : การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.วาธิณี อินทรพงษ์นุวัฒน์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
70 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.ธเนศ แก้วกำเนิด
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
3 นางจันทร์จิรา วันชนะ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร / สำนักงานคณบดีคณะวิศวกรรมและอุตสาหกรรมเกษตร / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
4 ดร.ภัสสร์พัณณ์ ศรีวิชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / สำนักงานคณบดีคณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
214,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 214,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023