แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนด้านการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล บ้านแม่แก๊ด ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-004.1
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : แนวทางการพัฒนาการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนด้านการเพาะเลี้ยงปลานิลอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิล บ้านแม่แก๊ด ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ เพื่อศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล เศรษฐกิจและสังคม ความรู้ความเข้าใจ

ทัศนคติ และความพึงพอใจต่อการดำเนินงานของกลุ่มผู้เลี้ยงปลานิลของเกษตรกร รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อ

ความพึงพอใจ ประชากรคือเกษตรกรที่มีชื่อในบัญชีกลุ่มหรือชมรมผู้เลี้ยงปลาจำนวน 5 กลุ่ม ได้กลุ่ม

ตัวอย่างทั้งหมดจากสมาชิก 105 ราย โดยคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามที่ผ่าน

การวิเคราะห์ความเที่ยงตรงและความเชื่อมั่น ผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เลี้ยงปลานิลในรูปชมรม

หรือกลุ่มผู้เลี้ยงปลามามากกว่า 20 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิสาหกิจชุมชนในระดับปานกลาง มี

ทัศนคติในเชิงบวกต่อวิสาหกิจชุมชน มีความพึงพอใจต่อกลุ่มของตนเองในระดับปานกลาง โดยที่พึงพอใจ

ต่ำในด้านการบริหารและการตลาด ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจคือ ประสบการณ์ในการประกอบ

อาชีพ ขนาดปลานิลที่ปล่อย การฝึกอบรม ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่แตกต่างกันส่งผลให้มีความพึง

พอใจแตกต่างกัน สำหรับการเลี้ยงปลานิลสามารถปรับเปลี่ยนให้เป็นปลานิลอินทรีย์ได้โดยการหาเทคนิค

การเปลี่ยนเพศปลานิล และการดำเนินการในฟาร์ม สำหรับน้ำที่ใช้เลี้ยงปลานิลมีสารเคมีปนเปื้อนในระดับ

น้อยมาก แต่มีปัญหาด้านคุณสมบัติน้ำบางประการที่เกินค่ามาตรฐานในการเลี้ยงปลานิล เช่น ความเป็นกรด

ด่างและความเป็นด่าง สรุปได้ว่าแนวทางที่เหมาะสมในการปรับเปลี่ยนคือ ปรับเปลี่ยนเทคนิคการผลิตปลา

นิลเพศผู้ และการเพิ่มความเชื่อมั่นของสมาชิกด้านการดำเนินการของกลุ่ม ภาวะผู้นำและการตลาดเพื่อให้

สมาชิกได้รับผลประโยชน์ตามกำลังผลิตที่เหมาะสม

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

The objectives of this study are search socio-economic information, community enterprises

knowledge, attitude towards and satisfaction towards the operations of tilapia fish farmers. Moreover, the

factors affecting the fish farmers satisfactions was find out. The population was the member under five fish

farmers group or club. A total of 105 members were purposive sample. The questionnaires that were

developed for their validity and reliability were used. The results of the study showed that most of the

farmers have raised tilapia in the form of clubs or fish farmers for more than 20 years and have moderate

level of knowledge about community enterprises while a positive attitude towards community enterprises

were found. The total satisfaction with their own group was at a moderate level while the sub satisfaction

include management and marketing were found as low satisfaction. The factors affecting the satisfaction

are farmer experiences, the initial tilapia sizes, training experiences and attitudes toward significantly at

0.05 different level (P<0.05). The adaptation by looking for a tilapia sex reversal technique without

chemical treatment was the main consideration. In case of farm operation, the water used for raising tilapia

has very low levels of chemical contamination. But there are some problems with water properties that are

beyond the standard in tilapia, such as pH and alkalinity. It can be concluded that the appropriate approach

to make adjustments is increasing the confidence of members in the operation of the group leadership and

marketing to enable members to benefit from optimal capacity.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-63-02-004 : การผลิตสัตว์น้ำเศรษฐกิจในชุมชนเพื่อพัฒนาสู่วิสาหกิจชุมชน
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดารชาต์ เทียมเมือง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
55 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ว่าที่ร้อยตรี ดร.อานุภาพ วรรณคนาพล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
45 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
512,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 512,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023