การพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดสำเร็จรูปควบคุมโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-002.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดสำเร็จรูปควบคุมโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง
บทคัดย่อ :

การพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดสำเร็จรูปควบคุมโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งโดยใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเพาะเห็ดสกุลนางรมในโรงเรือนสำเร็จรูปและเพื่อพัฒนาโรงเรือนเพาะเห็ดสกุลนางรมที่ควบคุมอุณหภูมิและความชื้นด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง โดยระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถตรวจวัดอุณหภูมิ ความชื้นในอากาศภายในโรงเรือนเพาะเห็ดสำเร็จรูปและวัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ภายในโรงเรือน และสามารถควบคุมการรดน้ำและพัดลมระบายอากาศในโรงเรือนเพาะเห็ดผ่านแอพพลิเคชั่นบนสมาร์ทโฟน ผลการวิจัยพบว่าค่าจากอุปกรณ์เซนเซอร์ที่วัดได้ มีความต่อเนื่องและสามารถทำงานได้ตลอดระยะเวลาในการทดลอง ทำให้ได้ค่าที่สามารถบ่งชี้สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นเนียมหอมและจำนวนผลผลิตของเห็ด ซึ่งระบบนี้สามารถนำไปใช้งานได้จริงตามวัตถุประสงค์

คำสำคัญ : อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง , เห็ด
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

The development of a ready-made mushroom house was governed by Internet of Things technology using Internet of Things technology. The objectives of this study were to study the suitable environment for cultivating oyster mushrooms in prefabricated houses and develop a temperature and humidity-controlled house for oyster mushroom cultivation using the internet of things technology. The developed system can measure the temperature. Humidity in the air in the mushroom house and measure carbon dioxide in the house. And can control the watering and ventilation fan in the mushroom house through an application on a smartphone. The research results showed that the measured values from the sensor devices are continuous and able to work throughout the duration of the experiment. This results in an indication of environmental conditions suitable for the growth of aromatic plants and the yield of mushrooms. Which this system can be used for practical purposes

Keyword : Internet of Things, mushroom
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ณฐวุฒ พยัฆคิน
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
40 ไม่ระบุ
2 นายพิภพ มณีจำนงค์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
25 ไม่ระบุ
3 นายสัญฌา พันธุ์แพง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
15 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
15 ไม่ระบุ
5 อาจารย์ ดร.คนิติน สมานมิตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
5 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
325,330.00
   รวมจำนวนเงิน : 325,330.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023