การพัฒนารูปแบบการผลิตเนียมหอมเชิงการค้า โดยประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-02-002.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 1 ตุลาคม 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนารูปแบบการผลิตเนียมหอมเชิงการค้า โดยประยุกต์ใช้อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT)
บทคัดย่อ :

การปลูกเนียมหอมในระดับแปลงปลูกที่ควบคุมปัจจัยการผลิตด้วยระบบ

อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) เป็นการควบคุมความชื้นในดิน (มินิสปริงเกอร์) และความชื้นในอากาศ

ในพื้นที่บริเวณแปลงปลูก (พ่นหมอก) โดยมีการพรางแสง 50 เปอร์เซ็นต์ ให้ปุ๋ย 2 ชนิด คือ ปุ๋ยเคมี

ปุ๋ยมูลวัว ร่วมกับระยะปลูก 3 ระยะ คือ 30 x 30 เซนติเมตร 50 x50 เซนติเมตร และ 70 x 70

เซนติเมตร พบว่า ระบบอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง (IoT) ช่วยควบคุมความชื้นในดิน และความชื้น

สัมพัทธ์ในอากาศเหนือแปลงปลูกได้ดี ต้นเนียมหอมที่ปลูกระยะ 30 x 30 เซนติเมตร ที่ให้ปุ๋ยเคมี มี

ปฏิสัมพันธ์กัน สามารถเจริญเติบโตดี ให้ผลผลิต (ใบ) ค่าคลอโรฟิลล์ ความสูง สูงที่สุด เมื่อนำไปเก็บ

รักษาในถุงพลาสติก (LDPE) แบบไม่เจาะรู เก็บในตู้เย็น นาน 15 วัน โดยมีการเปลี่ยนแปลงของ

คลอโรฟิลล์เล็กน้อย มีนํ้าหนักที่สูญเสียไปร้อยละ 4.00 – 6.00 ไม่มีโรคเกิดขึ้น และสามารถแปรรูป

เป็นชาเชียวผงได้ โดยสูตรผสมระหว่างเนียมหอม 1 ส่วน ใบเตย 2 ส่วน และหญ้าหวานร้อยละ 1

(โดยนํ้าหนัก) ให้กลิ่นและรสชาติเหมาะสมที่สุด ผงของชาที่ได้จากเนียมหอมที่ให้ปุ๋ยเคมีจะมีสีเขียว

เข้มมากกว่าที่ให้ปุ๋ยอินทรีย์ และมีค่าปริมาณฟีนอลลิกรวมและกิจกรรรมการต้านสารอนุมูลอิสระสูง

ที่สุด

คำสำคัญ : อินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่ง เนียมหอม ชาเนียมหอม การเก็บรักษาเนียมหอม สารต้านอนุมูลอิสระ
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title :
Abstract :

Niamhom were growing in the fifty percentage shading of black plastic

net plot controlled (soil moisture and air relative humidity) by using Internet of Things

( IoT) systems, two types of fertilizers, chemical fertilizers, cow manure fertilizers and

planting three spaces, 30 x 30 centimeter, 50 x 50 centimeter, 70 x 70 centimeter.,

were study in this research Internet of Things ( IoT) systems are able to control soil

moisture and relative humidity above the plate in plot. The Niamhom could grow with

high yields (leaves), high chlorophyll and highest stem height when planting at 30 x 30

centimeter with chemical fertilization were showed. When stored of a non-perforated

plastic bag (LDPE) in refrigerator for 15 days showed slightly change of chlorophyll. The

weight loss was 4.00 – 6.00 percentage and no disease occurred. Powdered green tea,

mixture formulation 1 : 2 of Niamhom, Pandan and adding 1 percentage of stevia give

the appropriate scent and flavor from tester. The color of tea powder was dark green

for chemical fertilizer treatment. The highest total phenolic compounds and

antioxidant activity also were presented.

Keyword : Internet of Things (IoT), Strobilanthes nivea, Niamhom Tea, Antioxidant
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : โครงการวิจัยนี้เป็นงานวิจัยภายใต้งานวิจัย มจ.1-63-02-002 : การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งกับเห็ดเศรษฐกิจและสมุนไพร
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.อนุวัฒน์ จรัสรัตนไพบูลย์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.ละออทิพย์ นะโลกา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
30 ไม่ระบุ
3 นางโยษิตา จรัสรัตนไพบูลย์
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : สถาบันพระบรมราชชนก
ผู้วิจัยร่วม
(2563)
20 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน กองทุนวิจัย มหาวิทยาลัยแม่โจ้
งบประมาณแผ่นดินแม่โจ้
400,950.00
   รวมจำนวนเงิน : 400,950.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023