การจัดการการลดแอมโมเนียในการเลี้ยงปลากะพงในระบบปิดแบบน้ำหมุนเวียน โดยใช้ใช้สารสกัดแทนนินธรรมชาติจากเปลือกมังคุด

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-01-003
รหัสอ้างอิง วช. : 63A111000017
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การจัดการการลดแอมโมเนียในการเลี้ยงปลากะพงในระบบปิดแบบน้ำหมุนเวียน โดยใช้ใช้สารสกัดแทนนินธรรมชาติจากเปลือกมังคุด
บทคัดย่อ :

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสภาวะเหมาะสมในการสกัดสารแทนนินจากเปลือกมังคุด เพื่อลดปริมาณแอมโมเนียในน้ำบ่อปลา โดยนำเปลือกมังคุดบดที่ความความเข้มข้น 10, 20 และ 30 กรัม / ลิตร นำไปแช่ในน้ำเป็นเวลา 0, 1, 5, 7, 14, 21 และ 28 วัน จากนั้นนำไปวิเคราะห์หาสารแทนนิน ในการทดลองที่ 2 เป็นการสกัดสารแทนนินจากเปลือกมังคุดโดยการต้มเปลือกมังคุดบดละเอียดที่ 10, 20 และ 30 กรัม / ลิตร ต้มในเวลาต่างกันเป็นเวลา 0, 30, 60 และ 120 นาที พบว่าปริมาณสารแทนนินที่ 30 กรัม / ลิตรในเวลาต้ม 120 นาทีมีปริมาณสูงสุด โดยให้ความเข้มข้นของสารแทนนินที่ 5,075 มก. / ล. (P <0.05) จากนั้นทาการตรวจสอบหาประสิทธิภาพในการลดปริมาณแอมโมเนียด้วยสารสกัดแทนนิน ซึ่งผลการวิจัยพบว่าสารสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุด สามารถลดปริมาณแอมโมเนียที่เป็นพิษในน้ำบ่อปลาได้ อัตราการลดปริมาณแอมโมเนียเท่ากับ 0.073 ppm แอมโมเนียรวม / แทนนิน 1 ppm ความเข้มข้นที่เป็นอันตราย (LC50) ของการสกัดแทนนินจากเปลือกมังคุดเท่ากับ 296 ppm ความเข้มข้นของแทนนินที่เหมาะสมในการนำมาใช้เท่ากับ 29.6 ppm อย่างไรก็ตามสารแทนนินที่มีความเข้มข้นสูงจะทาให้ pH ของน้ำลดลงอย่างรวดเร็วจนทำให้ปลาเกิดความเครียด ดังนั้นการใช้สารแทนนินในบ่อปลาควรอยู่ในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อควบคุมปริมาณแอมโมเนียแลไม่เกิดผลเสียต่อปลาที่เลี้ยงได้

คำสำคัญ : การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำระบบปิด , แทนนิน , ระบบหมุนเวียนน้ำ , ปลากะพง
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : The Ammonia Removal Management of Barramundi (Lates calcarifer) Culture in Recirculating Aquaculture System
Abstract :

This study aimed to investigate the optimize conditions for tannin extraction from mangosteen peel and to evaluate the property in ammonia removal in fishpond water. Ground mangosteen peel, at the concentrations of 10, 20, and 30 grams/L, were soaked in water for 0, 1, 5, 7, 14, 21, and 28 days. Tannin in each condition was analyzed. The second experiment was tannin extraction from the mangosteen peel by boiling. Finely ground and crushed mangosteen peel at the 10, 20 and 30 gram/l were boiled at different times for 0, 30, 60 and 120 minutes. Tannin from these conditions was determined. It was found that conditions of 30 gram/L and the 120 minutes boiling time could be used for extraction providing the highest tannin concentrations of 5,075 mg / L (P <0.05). The efficiency of ammonia removal by tannin extract was then investigated. The result revealed that mangosteen peel-tannin extract could mitigate toxic ammonia in fishpond water. The ammonia removal rate was 0.073 ppm total ammonia/1 ppm tannin. Lethal concentration (LC50) of tannin extraction from mangosteen peel was 296 ppm, and the safe tannin concentration was 29.6 ppm. However, high concentrations of tannins should let the pH of the water to drop rapidly that causing stress to fish. Therefore, applying of tannins in fishpond should be at a suitable amount to maintain ammonia appearing.

Keyword : Closed Aquaculture System, Water Recirculation System, Recirculating Aquaculture System, Lates calcarifer, Bloch, RAS
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 รองศาสตราจารย์ทิพสุคนธ์ พิมพ์พิมล
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
70 ไม่ระบุ
2 รองศาสตราจารย์ ดร.นิวุฒิ หวังชัย
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะเทคโนโลยีการประมงและทรัพยากรทางน้ำ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
1,000,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 1,000,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
24 กรกฎาคม 2563
วารสารที่ตีพิมพ์ : บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
ฉบับที่ : 1
หน้า :
ระดับการนำเสนอ :
เจ้าของวารสาร :
0.4
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023