การยกระดับเกษตรสมัยใหม่สู่อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปลอดภัยด้วยเภสัชภัณฑ์

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-63-07
รหัสอ้างอิง วช. : 63Z10623186004
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 30 เมษายน 2563 ถึง 30 กันยายน 2563
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การยกระดับเกษตรสมัยใหม่สู่อุตสาหกรรมการผลิตสัตว์ปลอดภัยด้วยเภสัชภัณฑ์
บทคัดย่อ :

ประสิทธิภาพของน้ำมันหอมระเหย 11 ชนิด ได้แก่ ตะไคร้หอม (Cymbopogon nardus Rendle.)

มะกรูด (Citrus hystrix DC.) ขิง (Zingiber officinale Roscoe) อบเชย (Cinnamomum zeylanicum)

ตะไคร้ต้น (Litsea cubeba (Lour.) Pers.) กานพลู (Eugenia caryophyllata Thunb.) ตะไคร้(Cymbopogon

citratus (DC.) Stapf.) ผิวส้ม (Citrus aurantium L.) ขมิ้นชัน (Curcuma longa Linn.) สะระแหน่ (Mentha

piperita) และ มะแขว่น (Zanthoxylum limonella Alston) ต่อการกำจัดพยาธิภายนอกในสัตว์พบว่า

น้ำมันหอมระเหยทั้ง 11 ชนิดที่นำมาทดสอบสามารถฆ่าพยาธิภายนอกในห้องปฏิบัติการได้ แต่

ประสิทธิภาพและความเข้มข้นที่ใช้จะแตกต่างกันไป โดยในไก่การใช้น้ำมันหอมระเหยตะไคร้หอม

ร่วมกับขิงที่อัตราส่วน 50:50 พบว่ามีประสิทธิภาพในการกำจัดเห็บและไรได้ใกล้เคียงกับการใช้ยาฆ่า

แมลง ส่วนในโคน้ำมันหอมระเหยจากตะไคร้และขิงที่ 8% มีประสิทธิภาพในการยับยั้งการวางไข่ของ

เห็บ การตายของเห็บระยะตัวอ่อน และการลดจำนวนของเห็บบนตัวโคได้ดีที่สุดซึ่งใกล้เคียงกับการใช้

ยาฆ่าแมลง และในสุนัขน้ำมันหอมระเหยมะแขว่นและกานพลูที่ 16% มีประสิทธิภาพยับยั้งการวางไข่

ของเห็บ การเพิ่มตายของเห็บระยะตัวอ่อน การเพิ่มตายของหมัด และความพึงพอใจของผู้ใช้ดีที่สุด

นอกจากนี้การจากการทดสอบน้ำมันหอมระเหยดังกล่าวพบว่าไม่ทำให้เกิดอาการข้างเคียงและการแพ้

ในสัตว์ ซึ่งน้ำมันหอมระเหยสามารถนำมาใช้ป้องกันและกำจัดพยาธิภายนอกได้อย่างปลอดภัย และ

สามารถประยุกต์ใช้ในการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ได้

คำสำคัญ : น้ำมันหอมระเหย , เหา , ไร , เห็บ , หมัด
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Raise the level of modern agriculture to the high value poultry industry
Abstract :

Efficacy of eleven essential oils, citronella (Cymbopogon nardus Rendle.) Kaffir lime (Citrus

hystrix DC.) ginger (Zingiber officinale Roscoe) cinnamon (Cinnamomum zeylanicum) litsea (Litsea

cubeba (Lour.) Pers.) clove (Eugenia caryophyllata Thunb.) lemongrass (Cymbopogon citratus (DC.)

Stapf.) sour orange (Citrus aurantium L.) curcumin (Curcuma longa Linn.) peppermint (Mentha

piperita) และ makhwan (Zanthoxylum limonella Alston), against ectoparasite in animals. The results

revealed the in vitro activity of 11 essential oils can kill ectoparasites but the efficiency and the intensity

were varied used. In chickens, citronella essential oil and ginger at a ratio of 50:50 were found to be

effective in eliminating ticks and mites similar to insecticides. In cattle, essential oils from lemongrass

and ginger at 8% were effective in inhibiting the laying of tick eggs, death of the tick larva and the best

reduction of the number of ticks on the cows, which is close to the use of insecticides. Additionally,

16% of makhwan oil and clove oil revealed the most effective in inhibiting the laying of tick eggs,

increase the death of tick larvae, increase the death of flea and were most satisfied with the application

on the animal’s skin with no adverse effects and allergies. Finally, essential oils can be safely used to

prevent and eliminate ectoparasites and can be applied in organic livestock production.

Keyword : essential oil, louse, mite, tick, flea
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Green
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
โครงการเดี่ยว
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สัตวแพทย์หญิง ดร.กฤดา ชูเกียรติศิริ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะสัตวศาสตร์และเทคโนโลยี
ผู้วิจัยหลัก
(2563)
100 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2563
1/10/2562 ถึง 30/9/2563
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
60,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 60,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023