การพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนและ พัฒนาผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมขนเชิงเกษตรแบบครบวงจรในตำบลแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-005.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การพัฒนาขีดความสามารถของชุมชนและ พัฒนาผู้ประกอบการเพื่อพัฒนาพื้นที่เกษตรให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวชุมขนเชิงเกษตรแบบครบวงจรในตำบลแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1.ศักยภาพและทรัพยากรของพื้นที่ ตาบลแม่เจดีย์ และการจัดการกิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรอินทรีย์ 2. เพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนโดยวิธีการจัดการชุมชนเพื่อนามาสู่เข้าใจและสามารถบูรณาการทรัพยากรทางการเกษตร การอนุรักษ์ธรรมชาติ วัฒนธรรมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจร 3. เพื่อสร้างผู้ประกอบการชุมชนใหม่และที่มีอยู่ ที่มีความสามารถในเชิงการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรได้ และเก็บข้อมูลกับกลุ่มที่เป็นตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านและผู้ประกอบการจานวน 300 ราย

ผลการศึกษา การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนโดยวิธีการจัดการชุมชนซึ่งตัวแทนจากแต่ละหมู่บ้านจะมีส่วนร่วมในการจัดการโดยวิธีการจัดการชุมชนเพื่อนามาสู่เข้าใจและสามารถบูรณาการทรัพยากรทางการเกษตร การอนุรักษ์ธรรมชาติ ด้านศักยภาพและทรัพยากรของหมู่บ้าน แต่ละตัวแทนของหมู่บ้าน ได้ทาการประเมินทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรทางการเกษตรของหมู่บ้านตน พร้อมทั้งทาการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยในพื้นที่ พร้อมทั้งโอกาสและอุปสรรคในปัจจุบัน โดย ทั้งทีมวิจัย กลุ่มผู้นา ได้ทาการสารวจพื้นที่ร่วมกัน ในแต่ละหมู่บ้าน ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นถึง ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรทางการเกษตรที่มีอยู่ในตาบลแม่เจดีย์ ที่สามารถนามาบูรณาการ ทาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมใหม่เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว

คำสำคัญ : ขีดความสามารถ ชุมชน ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวชุมขนเชิงเกษตร แม่เจดีย์ จังหวัดเชียงราย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Community core competence and entrepreneurship development toward agricultural area enlargement to support integrated Organic agriculture community Tourism Activities in Mae Chedi Sub District, Vieng-pah-poa, Chiangrai
Abstract :

This research aims to study a) Potential and resources of the Mae Chedi Subdistrict area and the management of community tourism activities with organic agriculture b) To strengthen the community by means of community management to bring to the understanding and integration of agricultural resources, nature conservation, cultural and integrated agricultural tourism development c. To create new and existing entrepreneurs with competitive ability in agricultural tourism. 300 representative from 16 village were collected data by focus group technique.

The results of the study on strengthening the community through the community management method, where representatives from each village will participate in the management of the community management method to bring about understanding, integration of agricultural resources and nature conservation. For the potential and resource of the village, each village representative evaluated their village's natural and agricultural resources. Along with doing a SWOT analysis by village representative and exploring each village area, the results show atural resources and agricultural resources available in Mae Chedi Subdistrict. That can be integrated Make it a new tourist destination and activities to attract tourists

The potential and resource of the village Each representative of the village Has evaluated the natural and agricultural resources of their villages Along with doing a strength analysis Cons in the area Along with the current opportunities and obstacles by both the research team and the leadership group to explore the area together In each village The results of the research show Natural resources and agricultural resources available in Mae Chedi Subdistrict and can be integrated to create them as new tourist destination and activities to attract tourists.

Keyword : Capacity, community, Agricultural Tourism Entrepreneur in Mae Chedi, Chiang Rai Province
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
40 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล ตุลาสมบัติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 น.ส.บุษบงค์ ฝั้นแจ้ง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ / สำนักงานคณบดีคณะบริหารธุรกิจ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
900,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 900,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023