การจัดการท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจรตาบลแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-005
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การจัดการท่องเที่ยวชุมชนเชิงเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจรตาบลแม่เจดีย์ อำเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย
บทคัดย่อ :

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 1. เพื่อสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนโดยวิธีการจัดการชุมชนเพื่อนามาสู่เข้าใจและสามารถบูรณาการทรัพยากรทางการเกษตร การอนุรักษ์ธรรมชาติ วัฒนธรรมและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจร 2. เพื่อพัฒนาระบบสื่อความหมายและการตลาดท่องเที่ยวโดยเน้นการมีส่วนร่วมให้บุคลากรในชุมชนได้พัฒนาศักยภาพ และระดมความคิด/แก้ไขปัญหาของชุมชน รวมทั้งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน โดยอาศัยความร่วมมือระหว่างชุมชนในท้องถิ่น หน่วยงานภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา ในลักษณะพหุภาคี 3. เพื่อศึกษาวิธีการบริหารการเงินในรูปแบบธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจร เพื่อสร้างความเข้มแข็งทางการเงินแก่ชุมชน 4. สร้างเส้นทางท่องเที่ยวสายใหม่เชิงเกษตร ของตาบลแม่เจดีย์ ตาบลเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย โดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การทาสัมภาษณ์กลุ่มและแบบสอบถาม เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มเป้าหมาย ในตาบลแม่เจดีย์ จังหวัดเชียงราย ซึ่งผลการวิจัย และเก็บข้อมูลกับกลุ่มที่เป็นตัวแทนของแต่ละหมู่บ้านและผู้ประกอบการจานวน 300 ราย และนักท่องเที่ยว จานวน 400 ราย

ผลการศึกษา ตามวัตถุประสงค์ที่ 1 การสร้างความเข้มแข็งแก่ชุมชนโดยวิธีการจัดการชุมชนซึ่งตัวแทนจากแต่ละหมู่บ้านมีส่วนร่วมในการจัดการโดยวิธีการจัดการชุมชนเพื่อนามาสู่เข้าใจและสามารถบูรณาการทรัพยากรทางการเกษตร การอนุรักษ์ธรรมชาติ ด้านศักยภาพและทรัพยากรของหมู่บ้าน พร้อมทั้งทาการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อยในพื้นที่ รวมถึงโอกาสและอุปสรรคในปัจจุบัน โดย ทั้งทีมวิจัย กลุ่มผู้นา ได้ทาการสารวจพื้นที่ร่วมกัน ในแต่ละหมู่บ้าน ผลจากการวิจัยแสดงให้เห็นถึง ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรทางการเกษตรที่มีอยู่ในตาบลแม่เจดีย์ ที่สามารถนามาบูรณาการ ทาให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวและกิจกรรมใหม่เพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว ส่วนวัตถุประสงค์ที่ 2 การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบบครบวงจร ของผู้ให้ข้อมูล พบว่า ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เห็นควรให้พัฒนาด้านแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรให้สวยงาม และน่าสนใจมากขึ้น ส่วนนักท่องให้ความเห็นด้านส่วนประสมทางการตลาด ภาพรวมด้านผลิตภัณฑ์ ทางการท่องเที่ยว (Product) สิ่งดึงดูดใจ ด้าน กิจกรรม ด้านสิ่งอานวยความสะดวก การ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่วย ลักษณะทางกายภาพ (Physical Evidence) ด้านกระบวนการซื้อ ด้านบุคลากร (People) อยู่ในระดับมาก วัตถุประสงค์ที่ 3 การบริหารการเงินในรูปแบบธุรกิจท่องเที่ยวเชิงเกษตรอินทรีย์แบบครบวงจรเพื่อสร้างความเข้มแข็งทางการเงินแก่ชุมชนการจัดการการเงินของเกษตรกรและผู้ประกอบการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับกลางถึงมาก ส่วนการวางแผนการเงิน มีค่าเฉลี่ยอยู่ระดับปานกลางถึงมาก ส่วนวัตถุประสงค์ที่ 4 สร้างเส้นทางท่องเที่ยวสายใหม่เชิงเกษตร กิจกรรมท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องที่ยว สามารถ ทาได้ ในครึ่งวัน, 1 วัน เช้า เย็มกลับ , ค้างคืน บนดอย และร่วมกิจกรรมลงมือทา หัดชงกาแฟ ชา ดอย หรือกิจกรรมปลูกผัก เก็บเกี่ยวพืชพันธ์ต่างๆ เช่น ถั่วแระ

คำสำคัญ : ขีดความสามารถ ชุมชน ผู้ประกอบการ ท่องเที่ยวชุมขนเชิงเกษตร การตลาด การเงิน แม่เจดีย์ จังหวัดเชียงราย
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Integrated organic community tourism management in Mae Chedi Sub-district, Wiang Pa Pao, District Chiang Rai
Abstract :

This research aims to study 1. To strengthen communities through community management methods to bring about understanding and integration of agricultural resources, nature conservation, culture and development of integrated agricultural tourism. 2. To develop a means of communication and tourism marketing by focusing on participation in community personnel to develop potential and brainstorm / solve community problems, including strengthening the community through cooperation between local communities, government agencies, private sectors and educational institutions. 3. To study financial management in the form of integrated organic tourism business to strengthen the community's financial strength. 4. Create new agricultural tourism routes of Mae Chedi District, Wiang Pa Pao Subdistrict, Chiang Rai. In-depth interview, focus group and questionnaires were used to collect information from the target group in Tambon Mae Chedi Chiang Rai. 300 entrepreneurs who representing each village and 400 tourists were collected data.

The results of the study according to objectives 1) Strengthening the communities through the community management method where representatives from each village participated in the community management to bring understanding and be able to integrate agricultural resources, nature conservation and the potential resource of the village along with doing a strength and weakness analysis including the current opportunities and obstacles by the research team and the leadership group surveyed the area together in each village. The results show natural resources and agricultural resources available in Mae Chedi Sub-district, which can be integrated to create new tourist destinations and activities to attract tourists. For the objective 2 the development of integrated agricultural tourism destinations, it was found that most participants agreed that the development of agricultural tourism attractions should be beautiful, and more interesting the participants commented on the marketing mix for product such as; attractions, activities, amenities, pricing, channels, physical evidence in the process of purchasing, and People were at a high level. In the part of objective 3, financial management to strengthen the financial community, financial management of farmers and entrepreneurs were in moderate to high average as well as financial planning section. Lastly, objective 4 to create a new agricultural tourism route and agrotourism Activities, a day trip, half day can be done. For example, a return trip, overnight on the mountainand join the activities to do coffee training, mountain tea or vegetable growing activities and harvest various crops such as edamame.

Keyword : Community capability, agricultural tourism, entrepreneurs, finance, marketing, Mae Chedi, Chiang Rai Province
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ชุดโครงการ : แผนงาน หรือชุดโครงการ
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูษณิศา เตชเถกิง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
45 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิริกุล ตุลาสมบัติ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธรรมพร ตันตรา
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : วิทยาลัยบริหารศาสตร์
ผู้วิจัยร่วม
20 ไม่ระบุ
4 น.ส.บุษบงค์ ฝั้นแจ้ง
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะบริหารธุรกิจ / สำนักงานคณบดีคณะบริหารธุรกิจ / งานบริการการศึกษาและกิจการนักศึกษา
ผู้วิจัยร่วม
15 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
364,720.00
   รวมจำนวนเงิน : 364,720.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023