กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นเชิงสร้างสรรค์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-02-004.4
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : กลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นเชิงสร้างสรรค์ในเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กำแพงเพชรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
บทคัดย่อ :

การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์หลัก 1) เพื่อพัฒนาด้านกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นในชุมชนและส่งเสริมผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นในชุมชนเขตพื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-กาแพงเพชร โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 2) เพื่อสร้างขีดความสามารถด้านกลยุทธ์การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นในชุมชนและการถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ชุมชนเพื่อความหลากหลายและสร้างผลิตภัณฑ์อาหารท้องถิ่นให้มีมูลค่าสูงและใช้วัตถุดิบภายในท้องถิ่น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละและกาหนดเกณฑ์การประเมิน ซึ่งเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) ผลการวิจัยพบว่า 1) กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ พบว่าควรเน้นผลิตภัณฑ์มีหลากหลาย และหลายขนาด รสชาติ คุณภาพ มีฉลากกากับผลิตภัณฑ์ชัดเจน ระบุวันหมดอายุ เนื่องจากทั้งสองจังหวัด ผลิตภัณฑ์มีชื่อเสียงทางด้านประเภทอาหาร และขนมที่ต้องมีมาตรฐานและยืดอายุอาหารและขนมให้สามารถอยู่ได้นานมากขึ้น สามารถหาทานได้นอกจากฤดูกาลด้วยมีความน่าเชื่อถือได้ 2) กลยุทธ์ด้านราคา พบว่าควรกาหนดกลยุทธ์ตั้งราคา หลายระดับ และควรมีการติดราคาไว้อย่างชัดเจน ราคา เหมาะสมกับคุณภาพและสินค้า และควรหาวิธีกระตุ้นปริมาณการซื้อและเสนอกลยุทธ์ราคาสินค้าเพื่อจัดรายการ เนื่องจากกลุ่มนักท่องเที่ยวมีระดับรายได้แตกต่างกัน 3) กลยุทธ์ด้านช่องทางการจัดจาหน่ายพบว่าควรให้ความสาคัญกับตลาดในชุมชน การเพิ่มแหล่งจาหน่ายและช่องทางการตลาดที่หลากหลาย โดยการออกบูธการท่องเที่ยว การแสดงสินค้าร่วมกับหน่วยงานของรัฐ และตลาดออนไลน์ 4) กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด พบว่า ควรมีการส่งเสริมการตลาดให้มากขึ้น และประชาสัมพันธ์อย่างทั่วถึงโดยเฉพาะการพัฒนาสื่อต่าง ๆ ในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

คำสำคัญ : กลยุทธ์ , อาหารท้องถิ่น , เชิงสร้างสรรค์ , การมีส่วนร่วมของชุมชน
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Strategies for developing local creative food products in the special area of Sukhothai Historical Park - Si Satchanalai and Kamphaeng Phet with the participation of the community
Abstract :

The main objective of this research is 1) to develop strategies for local food products in the community and to promote those products in the special areas of the Sukhothai-Si Satchanalai-Kamphaeng Phet Historical Park. By community engagement 2) to build capacity for local food product development strategy and also transfer technology to the community for diversity and create high value local food products based on local ingredients. Data were analyzed using frequency values, percentage value and setting evaluation criteria, this is research and development (Research and Development). The results of the research were as follows: 1) Product strategy; It was found that there should be a wide variety of products and sizes, flavors, quality, and clearly labeled products. Specify expiration date; Because both provinces the product is famous for its food category. And snacks must be standardized and prolong the life of food and snacks to last longer. Can be eaten outside of the season as well. Reliability. 2) Price strategy; It was found that the pricing strategy should be set at multiple levels and the price should be clearly fixed, the price was appropriate for the quality and product. And should find ways to stimulate purchase volumes and offer a product price strategy for listing This is because of tourists have different income levels. 3) Distribution channel strategy; It was found that the market in the community should be given importance. Increasing various distribution sources and marketing channels by issuing a tourism booth and trade shows with government agencies 4) Marketingpromotion strategy; It was found that there should be more marketing promotion. And publicize thoroughly, especially the development of various media to reach the target audience.

Keyword : Strategy, Local Food, Creative, Participation of the community
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 อาจารย์ ดร.สมบัติ กันบุตร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 อาจารย์ ดร.น้ำฝน รักประยูร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
30 ไม่ระบุ
3 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัฐพงศ์ ปกแก้ว
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
4 อาจารย์ ดร.สุภารัตน์ อำนาจ
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยงานต้นสังกัด : มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
ผู้วิจัยร่วม
10 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
815,000.00
   รวมจำนวนเงิน : 815,000.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
วันที่ดำเนินการรายละเอียดน้ำหนักการตีพิมพ์
1 มกราคม 2566
วารสารที่ตีพิมพ์ : วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ 
ฉบับที่ : ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2566
หน้า : 133-149
ระดับการนำเสนอ : ระดับชาติ
เจ้าของวารสาร : วิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
0.8
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
วันที่ดำเนินการรายละเอียด
13 กรกฎาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
15 กรกฎาคม 2564
ลักษณะการนำไปใช้ประโยชน์ : การพัฒนาสาธารณะ
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023