การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-035.3
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัยการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

เป็นงานวิจัยคุณภาพ รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research) โดยเน้นกระบวนการวิจัยที่ให้

ความสาคัญกับการมีส่วนร่วม ของบุคคลผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Stakeholders) กับสภาพปัญหาที่

ต้องการแก้ไข โดยที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการปรับปรุงปัญหาให้ดีขึ้น มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาถึง

บริบทการดาเนินงานและศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ ตามเกณฑ์

การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน 2) เพื่อขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพตามการประเมิน

ศักยภาพวิสาหกิจชุมชน 3) ศึกษาถึงสภาพปัญหาอุปสรรคและปัจจัยหนุนเสริม เพื่อเสนอแนะแนว

ทางการพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน มีวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึก

(In-Depth Interview) การสัมภาษณ์แบบกลุ่ม (focus group interview) และการสังเกตแบบมีส่วน

ร่วม (participant observation) การตรวจสอบคุณภาพข้อมูลใช้วิธีสามเส้าด้านข้อมูล (Data

Triangulation) โดยมีผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ตัวแทนจากกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จานวน 79 กลุ่ม กลุ่มละ

3 คน รวมเป็น 237 คน

ผลจากการศึกษาพบว่า ตาบลบ่อแก้ว มีจานวนวิสาหกิจชุมชน ทั้งหมดจานวน 15 กลุ่ม

เกณฑ์การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อยู่ในระดับดี 7 กลุ่ม และระดับปานกลาง 8 กลุ่ม ตาบล

แม่สาบ มีจานวนวิสาหกิจชุมชน ทั้งหมดจานวน 15 กลุ่ม เกณฑ์การประเมินศักยภาพวิสาหกิจ ชุมชน

อยู่ในระดับดี 8 กลุ่ม และระดับปานกลาง 7 กลุ่ม ตาบลยั้งเมิน มีจานวนวิสาหกิจชุมชน ทั้งหมด

จานวน 9 กลุ่ม เกณฑ์การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนอยู่ในระดับดี 3 กลุ่ม และระดับปานกลาง

6 กลุ่ม ตาบลสะเมิงเหนือ มีจานวนวิสาหกิจชุมชน ทั้งหมดจานวน 28 กลุ่ม เกณฑ์การประเมิน

ศักยภาพวิสาหกิจชุมชนอยู่ในระดับดี 7 กลุ่ม และระดับปานกลาง 21 กลุ่ม ตาบลสะเมิงใต้มีจานวน

วิสาหกิจชุมชน ทั้งหมดจานวน 27 กลุ่ม เกณฑ์การประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนอยู่ในระดับดี

5 กลุ่ม และระดับปานกลาง 22 กลุ่ม ในประเด็นการขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาศักยภาพตามการ

ประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่. พบว่าเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ร่วมกัน โดยใช้กลุ่มที่ผ่านการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนในเกณฑ์ระดับดี จานวน 30 กลุ่ม เป็นพี่

เลี้ยงการถ่ายทอดประสบการณ์และร่วมแลกเปลี่ยน ใน 6 ประเด็น คือ ทิศทางของวิสาหกิจชุมชน

การวางแผนการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชน การบริหารตลาด การจัดการความรู้และข้อมูลข่าวสาร

การบริหารสมาชิกวิสาหกิจชุมชน กระบวนการจัดการสินค้าและบริการ

สาหรับแนวทางการพัฒนาศักยภาพของวิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ สรุป

ได้ดังนี้1. การทาให้ทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการประเมิน รวมไปถึงการสร้างให้เกิด

ทัศนคติเชิงบวกเป็นพื้นฐานที่สาคัญซึ่งจะนาไปสู่การเอื้อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและนาไปสู่

การพัฒนาการดาเนินงานวิสาหกิจชุมชนอย่างแท้จริง

2. ควรมีการพัฒนาศักยภาพทีมพี่เลี้ยง เช่น ทักษะการทาหน้าที่เป็นผู้นาการสนทนากลุ่ม จะ

ช่วยให้กระบวนการประเมินศักยภาพวิสาหกิจชุมชนได้ข้อมูลเชิงลึก นาไปสู่การพัฒนาศักยภาพ

วิสาหกิจชุมชนได้อย่างตรงประเด็นและเกิดประโยชน์อย่างแท้จริง

3. ควรมีการสร้างต้นแบบการเรียนรู้หรือจัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของกลุ่ม

วิสาหกิจชุมชน ในระดับอาเภอ

4. สานักงานเกษตรระดับอาเภอ ควรมีการสร้างกลไกและกระบวนการกากับติดตามเพื่อหนุน

เสริมให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน มีการนาผลประเมินศักยภาพที่ได้รับรายงานไปใช้ในการพัฒนากลุ่มวิสา

กิจชุมชนอย่างเป็นรูปธรรม ต่อเนื่อง และครอบคลุมทุกกลุ่ม

5.สานักงานเกษตรระดับอาเภอ ควรมีบทบาทในการเชื่อมประสานให้เกิดภาคีเครือข่าย

ความร่วมมือระหว่างกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกับหน่วยงานสถาบันการศึกษา และสถานประกอบการ

ภาคเอกชน ที่มีอยู่ในพื้นที่หรือใกล้เคียง เพื่อให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนการดาเนินงาน

ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในทุกด้าน

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Potential evaluation community enterprise Samoeng District Chiangmai Province
Abstract :

This study employed action research putting the importance on stakeholder

participation for improving problems. The objectives went to: 1) explore the context

of group operation and potential of community enterprises in Samoeng district, Chiang

Mai province; 2) propel potential development accordance with potential assessment

of the community enterprises; and 3) explore problems encountered and supporting

factors for giving suggestions about guidelines for potential development. Data were

collected through in-depth interview, focus group discussion and participatory

observation. Data triangulation was used for checking quality of obtained data. From

237 key informants (79 groups, 3 persons each).

Results of study revealed that Borkaew sub-district had 15 community

enterprise groups 7 groups were at a good level and 8 groups were at a fair level.

Marsarb sub-district had 15 community enterprise groups 8 groups were at a good level

and 7 groups were at a fair level. Yangmeon had 9 community enterprise groups 3

groups were at a good level and 6 groups were at a fair level. Samoeng Nua had 28

community enterprise groups 7 groups were at a good level and 21 groups were ate a

fair level. Samoeng Tai had 27 community enterprise groups 5 groups were at a good

level and 22 groups were at a moderate level. For the propelling of potential

development, there was common leaning exchange in which 50 good level of the

community enterprise acted as a trainer. This was under 6 aspects: direction of the

community enterprise, operational planning, management of the community enterprise

members, and process of product and service management.

The following were guidelines for potential development of the community

enterprise:

1. All concerned parties must have knowledge and understanding about an

assessment as well as positive attitudes leading to the occurrence of common learning

exchange.

2. Potential of the trainers must be developed such as various skills of

leadership for community enterprise development.3. A learning model must be constructed and a common learning exchange

venue must be prepared.

4. The district Agriculture office should have a process to supervise and monitor

the community enterprise operation.

5. The district Agriculture office should play roles in collaboration and operation

of network of concerned agencies for propelling operation of the community

enterprise.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผศ.ดร.วรทัศน์ อินทร์คคัฆพร
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : ไม่ระบุ
หน่วยงานต้นสังกัด :
ผู้วิจัยหลัก
(2562)
50 ไม่ระบุ
2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังสดาล กนกหงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
200,515.00
   รวมจำนวนเงิน : 200,515.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023