กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้เกิดช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ วิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่

รหัสอ้างอิงมหาวิทยาลัย : มจ.1-62-01-035.2
รหัสอ้างอิง วช. : -- ไม่ระบุ --
สถานะการดำเนินการ : ดำเนินการเสร็จสมบูรณ์แล้ว
วันที่ดำเนินการ : 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ข้อมูลทั่วไป ภาษาไทย :
หัวข้อ : กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้เกิดช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ วิสาหกิจชุมชน อำเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่
บทคัดย่อ :

โครงการวิจัย กระบวนการเรียนรู้เพื่อพัฒนาให้เกิดช่องทางการตลาดอิเล็กทรอนิคส์ วิสาหกิจ

ชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action

Research/PAR) มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ ศึกษาถึงบริบทการดาเนินงานและค้นหาศักยภาพ

ทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อนาไปสู่พัฒนากระบวนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและขับเคลื่อนให้

เกิดช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และศึกษาถึงสภาพปัญหาอุปสรรคและ

ปัจจัยหนุนเสริม เสนอแนะแนวทางการพัฒนาช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ของวิสาหกิจชุมชน

อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ โดยกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักหลัก คือ ตัวแทนคณะกรรมการและสมาชิกกลุ่ม

วิสาหกิจชุมชน อาเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่ จานวนทั้งสิ้น 76 กลุ่ม รวมทั้งสิ้น 228 คน ผลจาก

การศึกษาบริบทการดาเนินงานและค้นหาศักยภาพทางการตลาดของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน พบว่า ช่อง

ทางการจัดจาหน่ายสินค้า จากการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ไม่มีร้านค้าเป็นของตนเอง

คิดเป็นร้อยละ 84.21 และมีร้านค้าเป็นของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 15.79 ตามลาดับ การขายผลิตภัณฑ์

ในงานแสดงสินค้า คิดเป็นร้อยละ 55.26 และไม่ไปงานแสดงสินค้า คิดเป็นร้อยละ 44.74 การจัดขาย

สินค้าในตลาดชุมชนคิดเป็นร้อยละ 69.74 และไม่ไปขายคิดเป็นร้อยละ 30.26 ไม่ได้ขายสินค้าทางมือถือ

คิดเป็นร้อยละ 92.11 และขายสินค้าทางมือถือ คิดเป็นร้อยละ 7.9 การขายผลิตภัณฑ์โดยไม่มีเว็บไซด์

เป็นของตนเอง คิดเป็นร้อยละ 98.68 และมีเว็บไซด์ขายของ คิดเป็นร้อยละ 1.31 ส่งฝากขาย คิดเป็น

ร้อยละ 81.58 และไม่ส่งฝากขาย คิดเป็นร้อยละ 18.42

ในด้านการพัฒนากระบวนเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมและขับเคลื่อนให้เกิดช่องทางการตลาด

อิเล็คทรอนิคส์ จานวนกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการมีจานวนทั้งสิ้น 21 กลุ่ม มีบทบาท

สาคัญในการจัดเก็บ การให้ข้อมูลพื้นฐาน การถ่ายรูป เพื่อนาไปสู่การทาข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มและ

ผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม รวมถึงร่วมเรียนรู้เป็นคู่ขนานในแต่ขั้นตอนการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดช่องทาง

การตลาดอิเล็คทรอนิคส์ของกลุ่มอย่างเป็นรูปธรรม ส่งผลให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชนจานวน 21 กลุ่ม

มีช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ เกิดขึ้นกับกลุ่มของตน และสามารถที่จะเผยแพร่ข้อมูลด้านผลิตภัณฑ์

ของกลุ่มไปยังผู้บริโภคได้ สภาพปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการขับเคลื่อนเพื่อให้เกิดช่องทางการตลาด

อิเล็คทรอนิคส์ พบว่าการจัดเก็บข้อมูล ยังขาดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของภูมิปัญญาและอัตลักษณ์

ของผลิตภัณฑ์สินค้าในพื้นที่ ตัวแทนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เข้าร่วมอบรม มีการสับเปลี่ยนและ

หมุนเวียนกันมาอบรม ทาให้การอบรมและการได้รับความรู้ไม่เป็นไปอย่างต่อเนื่อง และการทาตลาด

ช่องทางอิเล็คทรอนิคส์ต้องวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายต้องทาด้วยความรอบคอบและทาบนฐานข้อมูลของ

ลูกค้า เท่าที่จะทาได้ เพื่อจะได้ส่งสารต่างๆให้กลุ่มเป้าหมาย จะได้ส่งตรงตามกลุ่มเป้าหมายของจริงๆ

สาหรับปัจจัยหนุนเสริมที่จะช่วยให้การจัดทาช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ คือ การหาหน่วยงานหรือองค์กรในพื้นที่มาทาหน้าที่ในการดูแลเว็บไซด์ และทาหน้าที่ในการพัฒนาข้อมูลและเป็นผู้ดูแลระบบ

และหนุนเสริมให้เกิดการพัฒนาบุคคลากรที่เป็นตัวแทนของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้เข้ามามีบทบาทในการ

ทาหน้าที่ดูและระบบและช่องทางการจาหน่ายอิเล็คทรอนิคส์ด้วยกลุ่มเอง ควรมีการหนุนเสริมสร้าง

ทัศนคติที่ดีให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการการเพิ่มช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ เป็นอีกช่องทาง

หนึ่งที่จะช่วยให้เกิดการเข้าถึงผู้บริโภคในยุคปัจจุบันได้ ควรมีการเชื่อมโยงข้อมูลของหน่วยงานภาครัฐ

กับช่องทางการตลาดอิเล็คทรอนิคส์ เพื่อให้เกิดการบูรณาการและไม่ซ้าซ้อนกัน

คำสำคัญ :
ข้อมูลทั่วไป ภาษาอังกฤษ :
Title : Learning process to develop niche electronic. market of community. Enterprise, Samoeng District Chiangmai Province
Abstract :

The objectives of this participatory action research were to explore: 1)

operational context and find marketing potential of Samoeng community enterprise

leading to the development of participatory learning and the occurrence of

electronics marketing channel of the community enterprise leading to the

development of participatory learning and the occurrence of electronics marketing

channel of the community enterprise and 2) problems encountered, supporting

factors and suggestion about the development guideline. Key informants were 228

committee representative ang the community enterprise members (76 groups).

Results of the study based on operational context revealed that most of the

respondent ( 84.21%) did not have their own shop. More than one-half of the

respondents ( 55.26%) sold their product in goods exhibition fair. Most of the

respondes sold their product in the community market (69.74%) and 92.11 percent

did not sold their product though mobile phone. Most of the respondents (98.68) did

not have their own for selling products and most of them ( 81.58%) used

consignment sale. There were 21 groups of community enterprise participating in

project activities and they played important roles in gathering and filing basic data

and photo taking leading to the preparation of group data its products. This included

paroral learning in each step of propellation for the occurrence of electronics

marketing channel. This could disseminate data on product of each group to

consumers.

Regarding problem encountered, the following were found: data gathering

and filing still of issues related to local wisdom and product identity; discontinued

training and knowledge gaining; and an analysis of target groups must be careful on

the basis of client data. For supporting factors on the preparation of electronics

marketing channel, it should have a local agency or organization to be responsible

for website care taking as well as data and personnel development for the

distribution channel operation. It should have the enhancement of good attitudes

towards electronics marketing channel adding which access to consumers of data ofpublic section agencies with election marketing channel for the occurrence of

integration process.

Keyword :
รูปแบบงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
ประเภทงานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
สาขางานวิจัย : -- ไม่ระบุ --
กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง : -- ไม่ระบุ --
Road map : Eco
ส่วนที่ 2 ประเภทโครงการวิจัย
ส่วนที่ 3 ลักษณะโครงการวิจัย
โครงการใหม่
ส่วนที่ 4 ข้อมูลเจ้าของผลงานวิจัย
 รายชื่อนักวิจัยตำแหน่งนักวิจัยสัดส่วน (%)ประเภทนักวิจัย
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กังสดาล กนกหงษ์
ประเภทบุคคล : บุคลากรภายใน     กลุ่มนักวิจัย : เกษตรศาสตร์
หน่วยงานต้นสังกัด : คณะผลิตกรรมการเกษตร
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
2 ผศ.ดร.ปริเยส สิทธิสรวง
ประเภทบุคคล : บุคคลภายนอก
หน่วยงานต้นสังกัด : -
ผู้วิจัยร่วม
50 ไม่ระบุ
ส่วนที่ 5 แหล่งทุนสนับสนุนงานวิจัย
 ปีงบประมาณ / วันที่รายละเอียดแหล่งทุนจำนวนเงิน (บาท)
1
ปีงบประมาณ : 2562
1/10/2561 ถึง 30/9/2562
ประเภทแหล่งทุน : งบประมาณภายในสถาบัน งบภายในมหาวิทยาลัย
งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
200,515.00
   รวมจำนวนเงิน : 200,515.00
ส่วนที่ 6 การนำเสนองานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 7 การตีพิมพ์เผยแพร่
ไม่มีข้อมูลการนำเสนองานวิจัย
ส่วนที่ 8 การอ้างอิงงานวิจัย
ไม่มีข้อมูลการอ้างอิงงานวิจัย
ส่วนที่ 9 การนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ไม่มีข้อมูลการนำงานวิจัยไปใช้ประโยชน์
ที่อยู่การติดต่อ
กองเทคโนโลยีดิจิทัล สำนักงานมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เลขที่ 63 หมู่ 4 ตำบลหนองหาร อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์สอบถาม
งานประชาสัมพันธ์ มหาวิทยาลัย 0-5387-3000
ระบบสารสนเทศสำหรับนักศึกษา 0-5387-3457
ระบบสารสนเทศสำหรับบุคลากร 0-5387-3285
ERP Maejo University - All Rights Reserved 2023